Page 124 - คำนิยามข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดิน
P. 124

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           101



                                     -  A315 ไผ (ไผตง ไผหวาน ปลูกเพื่อการคา) (Bamboo) พื้นที่ปลูกไผ
               (Dendrocalamus sp.) เพื่ออุปโภคบริโภคหนอ หรือลําตน รวมทั้งไผประดับตาง ๆ ไผมีลําตนใตดินเรียกวา

               เหงา (rhizome) สวนโคนของลําตนเหนือดินจะใหญและคอย ๆ เรียวไปยังสวนปลายลําตน หนอใหมจะเจริญ
               ออกมาจากตาขางหรือตายอดของเหงาที่อยูใตดิน ไผแตละลําประกอบดวยสวนของปลองลําตนที่มีลักษณะ
               เปนทอกลวง และสวนขอที่มีลักษณะเปนแผนแบนแข็ง เสนผานศูนยกลางของลําตนขึ้นอยูกับชนิดของไผ ซึ่ง
               มีเสนผานศูนยกลางตั้งแต 0.5-20 เซนติเมตร นอกจากนี้ยังพบวาขนาดเสนผานศูนยกลางของลําตน ขึ้นกับ

               ขนาดของหนอออนที่เจริญออกมาจากเหงาใตดินอีกดวย ปลองที่อยูบริเวณสวนกลางของลําตนมักมีความยาว
               มากกวา ปลองที่อยูตรงสวนโคนหรือสวนปลายของลําตน และมีริ้วรอยของกาบใบที่หลุดรวงไปจากบริเวณขอ
               ของลําตนดวย ขอของลําตนไผบางชนิดอาจมีลักษณะโปงพอง และอาจพบรากพิเศษเจริญออกมาจากขอของ
               ลําตนที่อยูใกลกับสวนโคนของลําตน ใบของไผประกอบดวยสวนของแผนใบ (blade) กาบใบ (sheath

               proper) ลิ้นใบ (ligule) และเขี้ยวใบ (auricles) ซึ่งมีขนาดและรูปรางแตกตางกันตามชนิดของไผ รวมทั้ง
               สีสันของกาบใบที่หุมหนอออน รวมทั้งการมีหนาม ขนหรือความเปนมันเงาของกาบใบก็แตกตางกันไปตาม
               ชนิดของไผดวย การแตกกิ่งกานสาขาของไผจะพบตั้งแตสวนโคนของลําตนไปจนกระทั่งถึงสวนปลายยอดใน
               ไผบางชนิด แตไผบางชนิดมีการแตกกิ่งกานสาขาเฉพาะสวนยอดของลําตนเทานั้น ไผออกดอกเปนชอซึ่งมีชอ

               ดอกยอยแบบ Spikelet (ภาพที่ 140-141)





































               ภาพที่ 140  แปลงไผรวก อําเภอจุน จังหวัดพะเยา บันทึกภาพเมื่อ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2558
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129