Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดปราจีนบุรี
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                            1.8  การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
                                 จากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี
                       มีการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ทั้งหมดในปี 2563 จ านวน 51,363 ราย รวมพื้นที่
                       771,195 ไร่ กิจกรรมที่มีพื้นที่ปลูกมาก ได้แก่ ข้าว มันส าปะหลัง ยูคาลิปตัส ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                       อ้อยโรงงาน ตามล าดับ (ตารางผนวกที่ 5)
                                 ทะเบียนเกษตรกรพืชสมุนไพร จากฐานข้อมูลกลาง (Farmer One) ของส านักงาน
                       เศรษฐกิจการเกษตร เกษตรกรได้ขึ้นทะเบียนปลูกพืชสมุนไพรในจังหวัดปราจีนบุรีพื้นที่ 3,181 ไร่
                       เกษตรกร 408 ราย มีพืชสมุนไพรหลัก 15 ชนิด สมุนไพรที่มีการปลูกมาก เช่น กฤษณา พลู และ

                       ขมิ้นชัน เป็นต้น (ตารางผนวกที่ 6)

                            1.9  ที่ตั้งโรงงานและแหล่งรับซื้อสินค้าเกษตร
                                จังหวัดปราจีนบุรีมีแหล่งรับซื้อสินค้าเกษตรและสหกรณ์การเกษตรที่ส าคัญจ านวน
                       59 แห่ง และมีโรงงานทางการเกษตร 79 แห่ง (ตารางผนวกที่ 7)

                       2.  การวิเคราะห์พืชเศรษฐกิจหลัก

                            พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญพิจารณาจากพืชที่มีพื้นที่ปลูกมากและมีมูลค่าการส่งออกหรือแปรรูป
                       โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศพืชเศรษฐกิจ 13 ชนิดพืช ได้แก่ ข้าว มันส าปะหลัง
                       ยางพารา ปาล์มน้ ามัน อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สับปะรดโรงงาน ล าไย เงาะ ทุเรียน มังคุด

                       มะพร้าว และกาแฟ จากพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจดังกล่าว กรมพัฒนาที่ดินได้ก าหนดระดับความ
                       เหมาะสมของพื้นที่ปลูกรายจังหวัด โดยวิเคราะห์จากสภาพพื้นที่ ลักษณะของดิน ปริมาณน้ าฝน
                       แหล่งน้ าชลประทาน ร่วมกับการจัดการพื้นที่และลักษณะรายพืช โดยแบ่งระดับความเหมาะสม เป็น
                       4 ระดับ ได้แก่
                            ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชให้ผลตอบแทนสูง

                            ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชให้ผลตอบแทนสูงแต่พบ
                       ข้อจ ากัดบางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได้
                            ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีข้อจ ากัดบางประการการของดินและน้ า

                       ส่งผลให้การผลิตพืชให้ผลตอบแทนต่ า การใช้พื้นที่ต้องใช้ต้นทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ า
                       ท่วมและขาดน้ า
                            ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N)
                            จังหวัดปราจีนบุรี มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจส าคัญที่ปลูกมาก 4 ล าดับแรก ได้แก่ ข้าว มันส าปะหลัง

                       อ้อยโรงงาน และยางพารา (ตารางที่ 2)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17