Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอ่างทอง
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               12








                       ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตอ้อยโรงงาน

                                                                  มะพร้าว (ไร่)
                            อ าเภอ
                                                 S3                   N                    รวม

                         ไชโย                    25                    -                    25
                         ป่าโมก                   4                    -                     4

                         โพธิ์ทอง                 -                    -

                         เมืองอ่างทอง             -                    -
                         วิเศษชัยชาญ              -                    -
                         สามโก้                   -                    -

                         แสวงหา                   -                    -

                             รวม                 29                                         29



                               4) แนวทางการจัดการ
                                  (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1  หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
                       ปลูกอ้อยโรงงานต่อไป เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี

                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญ
                       ต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
                                    พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน
                       ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกอ้อยโรงงาน
                       ที่ส าคัญของจังหวัด พบปลูกอยู่ในอ าเภอแสวงหา และอ าเภอโพธิ์ทอง

                                    พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูก
                       อ้อยโรงงานในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกอ้อยโรงงาน เช่น ความอุดมสมบูรณ์
                       ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น พบอยู่ในอ าเภอแสวงหา

                                 (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3) ควรสนับสนุนให้เข้าโครงการ
                       บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกอ้อยโรงงาน มีต้นทุน
                       ที่ต่ า ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
                                 (3) พื้นที่ที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตอ้อยโรงงาน พบว่า พื้นที่ที่สามารถปรับเปลี่ยน

                       ไปปลูกอ้อยได้นั้น ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว แต่เนื่องจากพื้นที่ปลูกข้าวอยู่ในพื้นที่มีความเหมาะสมสูง
                       ในการปลูกข้าว (S1) ดังนั้นการพิจารณาระหว่างการสลับการปลูกข้าวและอ้อยโรงงานควรดูจาก
                       สภาพพื้นที่ที่สามารถจัดการระบบน้ าได้และความต้องการของตลาดเป็นส าคัญ นอกจากนี้ยังพบพื้นที่
                       ปลูกมะพร้าวในพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อยในการปลูกมะพร้าว (S3) ที่สามารถปรับเปลี่ยนมาปลูกอ้อย

                       โรงงานได้ ทั้งนี้เมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่ควรแนะน าให้ปรับเปลี่ยนพื้นที่มาปลูกอ้อยโรงงาน
                       เนื่องจากมะพร้าวเป็นไม้ผล ที่มีผลตอบแทนในด้านราคาสูง และการปรับเปลี่ยนอาจเป็นเรื่องยาก
                       ดังนั้นอาจส่งเสริมในเรื่องของการท าเกษตรรูปแบบอื่น เช่น ท าการเกษตรแบบผสมผสานทดแทน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24