Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14







                             4) แนวทางการจัดการ
                               จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map        Online จะพบว่าจังหวัด
                       พระนครศรีอยุธยามีพื้นที่ปลูกมะพร้าวบนพื้นที่ศักยภาพน้อย และไม่เหมาะสมเท่านั้น ดังนั้นจึงควรให้
                       ความรู้เกษตรกรในการปรับเปลี่ยนชนิดพืชให้เหมาะสมตรงตามศักยภาพของพื้นที่ โดยสนับสนุนให้เข้า

                       ร่วมโครงการ ต่างๆ เช่น Zoning by Agri-Map เป็นต้น พร้อมทั้งจัดระบบการผลิตและการบริหารจัดการ
                       ดิน น้ า ปุ๋ย ที่เหมาะสมส าหรับมะพร้าว การสนับสนุนแหล่งน้ า และการส่งเสริมให้ความรู้ในการปรับปรุง
                       บ ารุงดิน และการท าเกษตรผสมผสาน

                       2.3  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                                    ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพืชเศรษฐกิจหลักของพระนครศรีอยุธยาในล าดับที่ 3

                       จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map  Online  วิเคราะห์ข้อมูลได้ ดังนี้   (ตารางที่ 6 และ
                       ภาพที่ 10 – 11)
                                    1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                                     ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4,847 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.33  ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของดิน โดยอ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพอยู่ในระดับความเหมาะสมเหมาะสมสูง (S1)
                       ส าหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3 อันดับแรก ได้แก่ อ าเภอมหาราช  2,417 ไร่ อ าเภอบางปะหัน
                       1,792 ไร่ และอ าเภอผักไห่  414 ไร่ ตามล าดับ

                                     ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N)  มีเนื้อที่ 1,473,753 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 99.67 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของดิน โดยอ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพอยู่ในระดับความไม่เหมาะสม (N)  ส าหรับปลูก
                       ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3 อันดับแรก ได้แก่ อ าเภอบางปะอิน 141,173 ไร่ อ าเภอวังน้อย 139,343 ไร่ และ
                       อ าเภอบางไทร 134,682 ไร่ ตามล าดับ

                                    2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน คือ พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยง
                       สัตว์ในปัจจุบัน จ าแนกตามชั้นความเหมาะสมต่าง ๆ โดยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่ปลูกข้าวโพด
                       เลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ไม่เหมาะสมทั้งหมด มีเนื้อที่ 420  ไร่ อยู่ในอ าเภอวังน้อย 365 ไร่ อ าเภอบ้านแพรก
                       34 ไร่ และอ าเภอมหาราช 21 ไร่

                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แต่ยังไม่มี
                       การปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และพื้นที่เพาะปลูก
                       ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในชั้นความเหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีพื้นที่ศักยภาพ

                       คงเหลือในระดับเหมาะสมสูง (S1) โดยมีเนื้อที่ 4,847 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่เหมาะสมสูง อยู่
                       ในอ าเภอมหาราช  2,417 ไร่ อ าเภอบางปะหัน 1,792 ไร่ อ าเภอผักไห่ 414 ไร่ อ าเภอบางบาล 192 ไร่
                       และอ าเภอบ้านแพรก 32 ไร่
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26