Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               15







                                     ระดับที่  4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 894,828 ไร คิดเปนรอยละ 91.34
                       ของพื้นที่ศักยภาพของดิน กระจายมากอยูในเขตหนองจอก 146,625 ไร เขตลาดกระบัง 78,073 ไร
                       และเขตคลองสามวา 71,337 ไร เปนตน

                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมะพราวในปจจุบัน คือพื้นที่ปลูกมะพราวในปจจุบันจําแนกตามชั้น

                       ความเหมาะสมตาง ๆ โดยกรุงเทพมหานครมีพื้นที่ปลูกมะพราวในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) กับพื้นที่
                       ไมเหมาะสม (N) เทานั้น มีรายละเอียดดังนี้

                                    (1) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) ในการปลูกมะพราว มีเนื้อที่ 3,251 ไร คิดเปนรอยละ
                       3.83 ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในเขตบางขุนเทียน 1,358 ไร เขตราษฎรบูรณะ

                       444 ไร และเขตทุงครุ 440 ไร เปนตน

                                     (2) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกมะพราว มีเนื้อที่ 353 ไร

                                  3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมะพราวแตไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมะพราว และพื้นที่ปลูกมะพราว ในชั้นความ

                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวา กรุงเทพมหานครไมมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับเหมาะสมสูง
                       (S1) และระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) จึงไมมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในการปลูกมะพราว
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27