Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 20
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
13
ตารางที่ 3 (ตอ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
เขต ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
2,508 2,508
บางรัก พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
- - - - -
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
1,565 1,565
ปอมปราบศัตรู พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
- - - - -
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
871 871
พื้นที่มีศักยภาพของดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
สัมพันธวงศ พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - - - -
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
251,901 47,932 677,440 977,272
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 113,036 113,036
รวมทั้งจังหวัด - - -
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) (44.87%) (11.44%)
138,865 47,932 186,797
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(55.13%) (100.00%) (19.11%)
ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรง
ตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควร
สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกมะพราว (N) 353 ไร และบริเวณที่เปน
พื้นที่ปลูกปาลมน้ํามัน (S3+N) 290 ไร แตเนื่องจากนโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการ
ขาวตองการรักษาดุลยภาพผลผลิตขาว ดังนั้นจึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลอง
กับความตองการของตลาด (ตารางที่ 4)