Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุบลราชธานี
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
11
ตารางที่ 3 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 7,921 22,311 22,660 61,389 114,281
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
ดอน พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 6 ,906 19,448 20,859 15,660 62,873
มดแดง เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (87.20%) (87.17%) (92.05%) (25.51%) (55.02%)
1,016 2,864 3,880
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(12.80%) (12.83%) (3.40%)
227,640 1,976,563 2,395,366 3,137,923 7,737,492
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 173,602 1,499,151 1,964,715 820,374 4,457,842
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (76.26%) (75.85%) (82.02%) (26.14%) (57.61%)
54,038 477,412 531,450
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(23.74%) (24.15%) (6.87%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง (S3+N) 95,074 ไร่
และยางพารา (S3+N) 52,858 ไร่ (ดังตารางที่ 4)