Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอำนาจเจริญ
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18








                           2.4    ยางพารา
                             ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักล าดับที่ 4 ของจังหวัดอ านาจเจริญ จากฐานข้อมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกยางพารา

                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 7,259 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.42
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอหัวตะพาน 2,454 ไร่ อ าเภอเสนางคนิคม 1,781 ไร่ และ
                       อ าเภอพนา 3,024 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,293,162 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       75.36 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ 430,057 ไร่ อ าเภอชานุมาน
                       200,000 ไร่ อ าเภอปทุมราชวงศา 145,146 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 13,948 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.81
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ 3,906 ไร่ อ าเภอหัวตะพาน 4,560 ไร่

                       อ าเภอชานุมาน 3,299 ไร่
                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 401,527 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 58 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.80 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากในอ าเภอพนา 35 ไร่ อ าเภอเสนางคนิคม 17 ไร่ และอ าเภอหัวตะพาน 6 ไร่
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 54,975 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.25 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากในอ าเภอชานุมาน 22,887 ไร่ อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ 15,754 ไร่ อ าเภอ
                       เสนางคนิคม 6,236 ไร่

                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 2,123 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.21 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กน้อย พบมากในเมืองอ านาจเจริญ 886 ไร่ อ าเภอปทุมราชวงศา 367 ไร่ อ าเภอเสนางคนิคม 357 ไร่
                               (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 40 ไร่

                             3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราใ น

                       ชั้นความเหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดอ านาจเจริญมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,245,388 ไร่ กระจายอยู่ทั่ว
                       ทุกอ าเภอ โดยอ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุดคือ อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ 414,303 ไร่

                       รองลงมา ได้แก่ อ าเภอชานุมาน 177,114 ไร่ อ าเภอปทุมราชวงศา 140,016 ไร่ อ าเภอหัวตะพาน
                       123,579 และอ าเภอพนา 124,554 ไร่ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 7,201 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 99.20 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอ าเภอพนา 2,989 ไร่ อ าเภอหัวตะพาน 2,448 ไร่ และอ าเภอเสนางคนิคม

                       1,764 ไร่
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30