Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอำนาจเจริญ
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
17
ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตอ้อยโรงงาน
ข้าว (ไร่) ปาล์มน ามัน (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
พนา - - - - 28 28
ชานุมาน - - - - 1,374 1,374
ลืออ านาจ - - - - 8 8
หัวตะพาน - - - - 277 277
เสนางคนิคม - - - - 89 89
ปทุมราชวงศา - - - - 649 649
เมืองอ านาจเจริญ 147,853 21,713 169,566 - 845 845
รวม 147,853 21,713 169,566 - 3,270 3,270
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
เกษตรกรปลูกอ้อยโรงงานต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและ
ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอด
โครงการที่ส าคัญต่างๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า
เป็นต้น
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน
ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกอ้อยโรงงาน
ที่ส าคัญของจังหวัด พบในอ าเภอหัวตะพาน อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ และอ าเภอพนาเป็นต้น
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
อ้อยโรงงานในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกอ้อยโรงงาน เช่น ความอุดม
สมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น พบในอ าเภอชานุมาน อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ และ
อ าเภอเสนางคนิคม เป็นต้น
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน
ให้เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกอ้อย
โรงงาน มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย