Page 36 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               29







                             2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 553 ไร คิดเปนรอยละ 0.41 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       พบมากอยูในอำเภอขุขันธ 227 ไร อำเภอภูสิงห 100 ไร และอำเภอน้ำเกลี้ยง 62 ไร

                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 15,566 ไร คิดเปนรอยละ 2.56 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากอยูในอำเภอปรางคกู 4,461ไร อำเภอภูสิงห 3,054 ไร และอำเภอหวยทับทัน
                       2,116 ไร เปนตน
                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 1,518 ไร คิดเปนรอยละ 0.58 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       เล็กนอย พบมากอยูในอำเภอโนนคูณ 489 ไร อำเภอกันทรลักษ 303 ไร และอำเภอศรีรัตนะ 206 ไร

                             3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงานใน
                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวา จังหวัดศรีสะเกษมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 726,407 ไร โดยกระจายอยู
                       ทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอกันทรลักษ 137,818 ไร
                       รองลงมา ไดแก อำเภอกันทรารมย 111,923 ไร อำเภอขุนหาญ 117,230 ไร และอำเภอภูสิงห
                       77,078 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 133,510 ไร คิดเปนรอยละ 99.59 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอกันทรารมย 32,916 ไร อำเภอขุขันธ 29,778 ไร และอำเภอกันทรลักษ
                       20,996 ไร
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 592,897 ไร คิดเปนรอยละ 97.44

                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอำเภอกันทรลักษ 116,822 ไร อำเภอขุนหาญ 107,429 ไร และ
                       อำเภอกันทรารมย 79,007 ไร
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41