Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               28







                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
                       เกษตรกรปลูกมันสำปะหลังตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและ
                       ไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอด

                       โครงการที่สำคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก
                       มันสำปะหลังในที่ดินที่ไมมีขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกมันสำปะหลังซึ่งควรสงวนไวเปน

                       แหลงปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญของจังหวัด โดยกระจายอยูในอำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอราษีไศล
                       อำเภอหวยทับทัน เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       มันสำปะหลังในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกมันสำปะหลัง เชน

                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยกระจายอยูในอำเภอเมืองศรีสะเกษ
                       อำเภอราษีไศล และอำเภอกันทรารมย เปนตน
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกมันสำปะหลัง

                       มีตนทุนที่ต่ำ และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                           2.4  ออยโรงงาน
                               ออยโรงงานเปนพืชเศรษฐกิจหลักของศรีสะเกษในลำดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 ถึง 13)

                             1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                               ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 134,063 ไร คิดเปนรอยละ 2.71

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรารมย 32,949 ไร อำเภอขุขันธ 30,005 ไร และ
                       อำเภอกันทรลักษ 21,056 ไร
                               ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 608,463 ไร คิดเปนรอยละ

                       12.31 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 117,760 ไร อำเภอขุนหาญ 107,637 ไร
                       และอำเภอกันทรารมย 79,9136) ไร
                               ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 262,087 ไร คิดเปนรอยละ
                       5.30 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 128,535 ไร อำเภอศรีรัตนะ 24,193 ไร
                       และอำเภอขุนหาญ 22,474 ไร

                               ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,935,107 ไร
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40