Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครราชสีมา
P. 28
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
175,249 54,732 112,662 342,643
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
หนองบุญ พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - 135,888 33,059 - 168,947
มาก เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (77.54%) (60.40%) (49.31%)
39,361 39,361
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(22.46%) (11.49%)
123,302 3,693 204,620 331,615
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 30,631 3,693 34,324
ห้วยแถลง - -
เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (24.84%) (100.00%) (10.35%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - 92,671 - - 92,671
(75.16%) (27.95%)
112,001 4,905,563 710,450 4,935,846 10,663,860
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 24,776 2,095,036 228,182 7,357 2,355,351
จังหวัด เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (22.12%) (42.71%) (32.12%) (0.15%) (22.09%)
87,225 2,810,527 2,897,752
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(77.88%) (57.29%) (27.17%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง คือ พื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 500,947 ไร่ พื้นที่ปลูก
ยางพารา (S3) 59,726 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (S3+N) 24,733 ไร่ และพื้นที่ที่ปลูกอ้อยโรงงาน
(S3+N) 17,517 ไร่ (ตารางที่ 6)