Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19







                                  พื้นที่ปลูกลําไยในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกลําไยในที่ดินที่มี
                       ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกลําไย เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
                       ความชื้น กระจายอยูในอําเภอจอมทอง อําเภอพราว และอําเภอดอยเตา
                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา

                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกลําไย มีตนทุนที่ต่ํา
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                              ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดเชียงใหม พื้นที่ปลูกสวนใหญอยูใน
                       พื้นที่อําเภอน้ําปาด และอําเภอทองแสนขัน จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online

                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 23,678 ไร คิดเปนรอยละ 1.16

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมแตง 5,494 ไร อําเภอสันทราย 2,829 ไร
                       และอําเภอดอยเตา 2,398 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 746,716 ไร คิดเปนรอยละ
                       36.42 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอฝาง 79,915 ไร อําเภอจอมทอง
                       75,293 ไร และอําเภอพราว 67,393 ไร

                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 265,952 ไร คิดเปนรอยละ 12.97
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอฮอด 41,550 ไร อําเภอจอมทอง 29,403 ไร
                       และอําเภอแมแตง 27,753 ไร

                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,013,681 ไร
                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,148 ไร คิดเปนรอยละ 4.85 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเชียงดาว 670 ไร อําเภอไชยปราการ 351 ไร และอําเภอแมแตง 66 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 38,356 ไร คิดเปนรอยละ 5.14 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมแจม 8,707 ไร อําเภอแมอาย 5,879 ไร และอําเภอ
                       เชียงดาว 4,608 ไร

                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 13,730 ไร คิดเปนรอยละ 5.16 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมแจม 8,042 ไร อําเภอเชียงดาว 881 ไร และอําเภอแมอาย 816 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 26,953 ไร
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตยัง

                       ไมใชพื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเชียงใหมมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                       ในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 730,890 ไร กระจาย
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31