Page 70 - รายงานการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 70

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

             62    การส�ารวจความหลากหลายทางชีวภาพ
                   ศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำเขำหินซ้อนอันเนื่องมำจำกพระรำชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรำ




                                                วิธีการศึกษา









                    ท�าการศึกษาในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ  จังหวัดฉะเชิงเทรา
                  ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนกันยายน 2564 มีขั้นตอนการศึกษา ดังนี้

                    1.  รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดสัตว์  การกระจายตามฤดูกาล  บริเวณที่พบจาก
                  ผู้ที่ปฏิบัติงานในศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ  และชาวบ้านที่มี
                  ความช�านาญ

                    2.  ส�ารวจทางตรง (direct census) เป็นการส�ารวจเพื่อให้เห็นตัวสัตว์จริง

                      2.1  ส�ารวจทั่วไป ออกส�ารวจทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง ให้ครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด กระจาย
                  ให้ครบทุกถิ่นอาศัย (habitat) เช่น ป่าธรรมชาติ สวนพฤกษศาสตร์ แปลงไม้ผล แปลงพืชไร่ แหล่งน�้า

                  และอาคาร เป็นต้น

                      2.2  ส�ารวจตามเส้นแนว ก�าหนดเส้นแนวส�ารวจประจ�า 3 เส้น ออกส�ารวจทุกเดือน เดือนละ
                  3 ครั้ง (ภาพที่ 2)

                          2.2.1  เส้นที่ 1 ส�ารวจตามถนนภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจาก
                  พระราชด�าริ

                          2.2.2  เส้นที่ 2 ส�ารวจบริเวณรอบอ่างเก็บน�้าที่ 14 (อ่างห้วยแยก 2) และบริเวณ
                  สวนพฤกษศาสตร์เขาหินซ้อน

                          2.2.3  เส้นที่ 3 ส�ารวจบริเวณทางเดินศึกษาธรรมชาติสวนรุกขชาติสมเด็จพระปิ่นเกล้า

                      2.3  ส�ารวจตามแหล่งอาหาร เช่น บริเวณต้นไทรขณะผลสุก แหล่งน�้า และแหล่งท�ารังวางไข่

                      2.4  ส�ารวจโดยการดักตาข่าย (mist net) ใช้ตาข่ายดักนกขนาดเล็ก ตามบริเวณที่คาดว่า

                  จะมีนกบินผ่าน เพื่อจ�าแนกชนิดแล้วปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ ปีละ 3 ครั้ง
                      2.5  ส�ารวจโดยการขุดหลุมพรางตามริมแหล่งน�้า ดักจับสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน�้า

                  สะเทินบก เพื่อจ�าแนกชนิดแล้วปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ ปีละ 3 ครั้ง

                      2.6  ส�ารวจโดยการลากอวนขนาดตา 0.5 เซนติเมตร ยาว 100 เมตร และวางข่ายจับปลาน�้าจืด
                  เพื่อจ�าแนกชนิดแล้วปล่อยลงสู่แหล่งน�้าเดิม ปีละ 3 ครั้ง
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75