Page 140 - รายงานการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 140

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

            132    การส�ารวจความหลากหลายทางชีวภาพ
                   ศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำเขำหินซ้อนอันเนื่องมำจำกพระรำชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรำ




                                       ด้วงหนวดปมสีน�้ำตำลแดง


                                             Hairy Tuft-bearing Longhorn
                                         Aristobia horridula (Hope, 1831)
                                                   CERAMBYCIDAE



                                                            หนวดสีน�้าตาลแดง หนวดปล้องกลางมีกระจุกขน
                                                            ปกคลุมเป็นปม ทั้งตัวสีน�้าตาลแดง ด้านข้างของ
                                                            อกปล้องแรกหยักแหลมคล้ายหนาม ปีกคู่หน้า
                                                            มีกระจุกขนเป็นจุด ๆ ทั่วทั้งปีกดูคล้ายหนาม

                                                            พฤติกรรม : พบเกาะตามพุ่มไม้ บางครั้งบิน
                                                            เข้าหาแสงไฟตามอาคารที่อยู่ใกล้ป่า

                                                            ถิ่นอำศัย :  ป่าเต็งรัง ป่าละเมาะ สวนผลไม้
                                                            ในประเทศไทยพบภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง
                                                            เหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก












                                          ด้วงหนวดยำวก�ำมะถัน


                                                  Yangna Stem Borer
                                       Celosterna pollinosasulphurea Heller

                                                   CERAMBYCIDAE


                                                            ล�าตัวยาว 38 มิลลิเมตร ล�าตัวสีเขียวอมเหลือง
                                                            คล้ายสีก�ามะถัน ถึงสีเหลืองน�้าตาล ที่อกมีหนาม

                                                            ยื่นออกทางด้านข้างข้างละ 1 อัน ด้านล่างล�าตัว
                                                            สีขาว หนวดแบบเส้นด้าย ปากแบบกัดกิน ปีกคู่
                                                            หน้าแข็งและหนา และปีกคู่หลังปีกบางใส ขาเดิน
                                                            ตารวม

                                                            ถิ่นอำศัย : พบได้ทั่วไปตามเปลือกไม้แห้งผุ

                                                            อำหำรของแมลง :  ตัวเต็มวัยเจาะกินเนื้อไม้
                                                            ต้นยางนา ต้นกะบาก

                                                            กำรใช้ประโยชน์ : ก�าจัดซากพืชซากสัตว์และ
                                                            สิ่งปฏิกูล เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145