Page 54 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          44


                              ฉ) ปญหาดานดินเกษตรกรมีปญหามากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก ปญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ

                       จำนวน 832 แปลง (รอยละ 44.54) รองลงมาเปนปญหาดินเหนียว จำนวน 447 แปลง (รอยละ
                       23.93) และปญหาดินทรายจัด จำนวน 180 แปลง (รอยละ 9.61)
                              ช) เกษตรกรในพื้นที่มีการปลูกไมยืนตนที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจ จำนวน 141 แปลง (รอยละ

                       7.55) และไมมีการปลูกไมยืนตนที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจ จำนวน 1,727 แปลง (เปนรอยละ 92.45)

                              5.1.3 ขอมูลการขึ้นทะเบียนเกษตรกร
                              ก) การสอบถามขอมูลเกี่ยวกับการเขารวมกิจกรรมของเกษตรกรกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                       เกษตรกรมีการเขารวมกิจกรรมบัตรดินดีของกรมพัฒนาที่ดิน พบวา เกษตรกรเขารวมกิจกรรมบัตรดินดี

                       จำนวน 45 แปลง (รอยละ 2.41) และยังไมเขารวมกิจกรรมบัตรดินดี จำนวน 1,823 แปลง (รอยละ
                       97.59)
                              ข) การไดรับบริการจากกรมพัฒนาที่ดิน เกษตรกรเคยไดรับผลิตภัณฑจุลินทรีย พ.ด. มากที่สุด
                       จำนวน 422 แปลง (รอยละ 22.59) รองลงมาคือเมล็ดพันธุปุยสด จำนวน 196 แปลง (รอยละ10.49)

                       และเคยตรวจสอบตัวอยางดิน จำนวน 70 แปลง (รอยละ 3.74)
                              ค) การประมาณบัญชีจากผลผลิตทางการเกษตร พบวา เกษตรกรมีรายรับนอยกวารายจาย
                       (ขาดทุน) จากการลงทุนทางการเกษตร มากที่สุด จำนวน 940 แปลง (รอยละ 50.32) รองลงมา
                       เกษตรมีกำไรจากผลผลิตทางการเกษตร จำนวน 639 แปลง (รอยละ 34.20) และเกษตรกรปลูกไว

                       เพื่อบริโภค จำนวน 289 แปลง (รอยละ 15.47)

                              5.1.4 การไดรับบริการดานองคความรูวิชาการ

                              ก) การไดรับบริการดานองคความรูวิชาการ ดานการแกไขปญหาดินเค็มและการใชประโยชนที่ดิน
                       ใหเหมาะสม พบวาเกษตรกรไดรับความรู ขาวสาร ผานผูนำกลุมเกษตรกรและหมอดินอาสา จำนวน 550 แปลง
                       (รอยละ 29.44) รองลงมาคือไดรับการอบรม ประชุม ชี้แจง 1 ครั้งตอป จำนวน 84 แปลง (รอยละ

                       4.49) ไดรับคำแนะนำ วางแผนการใชประโยชนที่ดินราย จำนวน 19 แปลง (รอยละ 4.49) และไดรับ
                       อบรม ประชุม ชี้แจง มากกวา 1 ครั้งตอป จำนวน 2 แปลง (รอยละ 0.11)

                              ข) การไดรับบริการองคความรูและแปลงสาธิตการใชประโยชนพื้นที่ดิน พบวาเกษตรกรไดรับความรู
                       เกี่ยวกับการปรับรูปแบบกระทงนาใหมีขนาดใหญมากขึ้น จำนวน 209 แปลง (รอยละ 11.18) รองลงมาคือ

                       การปรับรูปแบบรองน้ำรอบกระทงนาเพื่อระบายน้ำไปเก็บน้ำไวในรองรักษาความชื้น จำนวน 113
                       (รอยละ 6.04) และการปรับรูปแบบคันนาใหมีฐานกวางเพื่อใหสามารถใชประโยชนปลูกตนไมยืนตน
                       ทนเค็ม/พืชเศรษฐกิจ/ยูคาลิปตัส H4 ทนเค็ม จำนวน 66 แปลง (รอยละ 3.53)


                       5.2   ปญหาและอุปสรรค
                              1. เกษตรกรเจาของพื้นที่หรือผูใชประโยชนในพื้นที่ดำเนินงาน มีภูมิลำเนาอยูนอกพื้นที่ทำให
                       ไมมีขอมูลจากการสัมภาษณโดยตรง การประสานงานในกลุมเกษตรกรไมทั่วถึง และบางรายไมให

                       ความสำคัญกับการดำเนินงานของโครงการ
                              2. ในชวงปฏิบัติงานของเจาหนาที่ เกษตรบางกลุมจะติดภารกิจในการเขาดูแลพืชผลที่ปลูกจึงไม
                       สามารถเขามาใหขอมูลได
                              3. การระบาดของโรค COVID-19 ทำใหการเขาพื้นที่สัมภาษณและชี้แปลงเกษตรกรในพื้นที่

                       ไมตอเนื่องสม่ำเสมอ สงผลใหการจัดเก็บขอมูลลาชาและบุคลากรมีความเสี่ยงตอการติดโรค
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59