Page 53 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          43


                                                             บทที่ 5


                                                     สรุปผลการดำเนินงาน


                       5.1 สรุปผลการดำเนินงาน
                              โครงการสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน ในโครงการปลูกไมยืนตนทนเค็มเพื่อปองกัน

                       การกระจายดินเค็ม เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ เนื้อที่ 43,628 ไร
                       มีรายละเอียดโดยสรุปไดดังนี้

                            5.1.1 ขอมูลลักษณะแปลงที่ดิน
                                     ก) ดำเนินการสำรวจฯ ในพื้นที่ 23 หมูบาน ไดแก บานโคกใหญ บานเวอ บานแดง
                       บานตูม บานเหลา บานเชียงงาม บานโคกกอง บานโปรงแค บานเชียงสา บานโพธิ์ศรี บานโพธิ์ศรี

                       บานดงยาง บานคำขันอาสา บานคำแมด บานโนนนาค บานรมเย็นบานเชียงสานอย บานดอนอุดม
                       บานโคกคำ บานตูมเหนือ บานโนนแดง บานโคกกองใต บานเชียงงาม และบานโพธิ์ชัย
                                     ข) ดำเนินการสำรวจแปลงถือครองที่ดินโดยวิธีการสัมภาษณเกษตรกรจำนวน 1,868 แปลง
                                     ค) เกษตรกรถือเอกสารสิทธิประเภท โฉนดที่ดิน มากที่สุด จำนวน 1,699 แปลง
                       (รอยละ 90.95) และ ส.ป.ก.4-01  จำนวน 12 แปลง (รอยละ 0.64)

                                     ง) เกษตรกรเปนเจาของที่ดินและทำการเกษตรเอง จำนวน 1,264 แปลง (รอยละ
                       67.34) ญาติ/เขาทำเปลา จำนวน 424 แปลง (รอยละ 22.70) และเจาของที่ดินใหขอมูลแทน
                       110 แปลง (รอยละ 5.89)

                                     จ) ขนาด สัดสวนแปลงที่ดินของเกษตรกรมีขนาดเนื้อที่อยูระหวางแปลงที่ดินที่มีขนาด
                       ๑ - 5 ไร จำนวน 1,146 แปลง (รอยละ 61.35)

                              5.1.2 ขอมูลการใชประโยชนที่ดิน
                                     ก) เกษตรกรทำนามากที่สุด จำนวน 1,562 แปลง (รอยละ 83.62) รองลงมา คือ

                       สถานเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ จำนวน 213 แปลง (รอยละ 11.41) ปลูกมันสำปะหลัง จำนวน 28 แปลง
                       (รอยละ 1.51)
                                     ข) ดานแหลงน้ำที่ใชเพื่อการเกษตร พบวา เกษตรกรในพื้นที่มีการใชน้ำในการ
                       ทำเกษตรกรรม จากชลประทานมากที่สุด จำนวน 1,772 แปลง (รอยละ 94.86) ของแปลงที่มาให

                       ขอมูล รองลงมาเปนการใชน้ำฝนอยางเดียว จำนวน 54 แปลง (รอยละ 2.89) และใชน้ำจากแหลงน้ำ
                       สาธารณะ จำนวน 54 แปลง (รอยละ 2.89)
                                     ค) ปญหาหลักดานการเกษตร 3 อันดับแรกที่พบในพื้นที่ดำเนินการ ไดแก ปญหา

                       ราคาผลผลิตต่ำ จำนวน 1,609 แปลง (รอยละ 86.13) รองลงมาเปนเรื่องของตนทุนการผลิตสูง จำนวน
                       1,599 แปลง (รอยละ 85.59) และดินมีศักยภาพต่ำ จำนวน 680 แปลง (รอยละ 36.4)
                                     ง) เกษตรกรมีการใชปุยเคมี/ปุยอินทรีย มากที่สุด จำนวน 866 แปลง (รอยละ 46.36)
                       รองลงมา คือ ปุยเคมี จำนวน 726 แปลง (รอยละ 39.18) ไมใชปุย จำนวน 222 แปลง (รอยละ
                       11.88) และปุยอินทรีย จำนวน 30 แปลง (รอยละ 2.58)

                                     จ) เกษตรกรมีการใชสารเคมีปราบศัตรูพืช จำนวน 1,290 แปลง (รอยละ 69.06) และ
                       ไมใชสารเคมีปราบศัตรูพืช จำนวน 578 แปลง (รอยละ 30.94)
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58