Page 3 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 3

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                            ข


                       กวารายจาย (ขาดทุน) มากที่สุด รอย 50.32 รองลงมามีจายนอยกวารายรับ (กำไร) รอยละ 34.20
                       และปลูกไวเพื่อบริโภค รอยละ 15.47 การไดรับบริการความรูวิชการในการแกไขปญหาดินเค็มและใช
                       พื้นที่ดินใหเหมาะสม เกษตรกรไดรับความรู ขาวสาร ผานผูนำกลุมเกษตรกรและหมอดินอาสา (รอยละ

                       29.44) รองลงมาคือไดรับการอบรม ประชุม ชี้แจง 1 ครั้งตอป (รอยละ 4.49) ไดรับคำแนะนำ
                       วางแผนการใชประโยชนที่ดินราย (รอยละ 4.49) และไดรับอบรม ประชุม ชี้แจง มากกวา 1 ครั้งตอป
                       (รอยละ 0.11)  ในดานองคความรูและแปลงสาธิตการใชประโยชนพื้นที่ดิน พบวาเกษตรกรไดรับความรู
                       เกี่ยวกับการปรับรูปแบบกระทงนาใหมีขนาดใหญมากขึ้น (รอยละ 11.18) รองลงมาคือการปรับรูปแบบรอง

                       น้ำรอบกระทงนาเพื่อระบายน้ำไปเก็บน้ำไวในรองรักษาความชื้น (รอยละ 6.04) และการปรับรูปแบบ
                       คันนาใหมีฐานกวางเพื่อใหสามารถใชประโยชนปลูกตนไมยืนตนทนเค็ม/พืชเศรษฐกิจ/ยูคาลิปตัส H4
                       ทนเค็ม (รอยละ 3.53)

                              ประโยชนที่ไดรับจากโครงการจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินจะเปนฐานขอมูลรายแปลง

                       ซึ่งประกอบรวมกันแลวเปนแผนที่ การถือครองที่ดินดานการเกษตรที่อยูในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                       ฐานขอมูลดังกลาว ไดแก ขอมูลทะเบียนราษฎรของเกษตรกร ประเภทของการถือครองที่ดิน ขนาดของ
                       แปลงที่ดิน การใชประโยชนที่ดิน เสนทางคมนาคม แหลงน้ำ ปญหาดานการเกษตร และขอมูลการขึ้น
                       ทะเบียนเกษตรกร ซึ่งเมื่อนำมาบูรณาการกับฐานขอมูลดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เชน
                       ดิน น้ำบนผิวดิน น้ำใตดิน การอนุรักษดินและน้ำ การปรับปรุงบำรุงดิน  ตลอดจนการสงเสริมและสนับสนุน

                       การรวมกลุมของเกษตรกรเพื่อเพิ่มรายได ลดตนทุนทางการเกษตร สามารถตอบสนองตอความตองการ
                       ของเกษตรกรไดในระดับรายแปลง

                              อนึ่ง การนำแผนที่ และสารสนเทศภูมิศาสตรไปใช ผูใชงานควรมีบุคลากรดานภูมิสารสนเทศ
                       รวมดวย ทั้งนี้เพื่อดึงฐานขอมูลที่อยูภายในแผนที่เชิงเลขมาใชประโยชนไดอยางสูงสุด ตลอดจนสามารถ
                       เชื่อมโยงกับสารสนเทศอื่น ๆ เพื่อกำหนดแผนงาน โครงการ และกิจกรรมในพื้นที่ดำเนินงาน นอกจากนั้น

                       การเสนอแผนงาน ผลงานกอนและหลังเขาปฏิบัติงานโครงการตอหนวยงานเจาของพื้นที่ จะทำให
                       ผลของการดำเนินงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
   1   2   3   4   5   6   7   8