Page 2 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 2

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                            ก


                                                      บทสรุปสำหรับผูบริหาร


                              การดำเนินงานในโครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินปงบประมาณ
                       พ.ศ. 2563 ในแผนโครงการปลูกไมยืนตนทนเค็มเพื่อปองกันการกระจายดินเค็ม มีวัตถุประสงค
                       เพื่อสำรวจภาวะการถือครองที่ดินของเกษตรกรอยางละเอียดซึ่งผลของการดำเนินงานทำใหไดขอมูล
                       ที่อยูในรูปของแผนที่เชิงเลข และสารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวยรายชื่อผูถือครองที่ดิน
                       และการใชประโยชนที่ดินรายแปลง ตลอดจนกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นดานการเกษตรที่เกษตรกรได

                       กระทำในพื้นที่ เชน แหลงน้ำที่ใชดานการเกษตร ปญหาในการทำงานดานการเกษตร ขนาดของแปลง
                       ที่ดินของเกษตรกร ฯลฯ ทั้งนี้โดยใชฐานขอมูลแปลงที่ดินเชิงเลขจากกรมที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน
                       เพื่อเกษตรกรรม ตลอดจนขอมูลแผนที่กระดาษ หลักฐานการเสียภาษีของเกษตรกรที่องคการบริหารสวน

                       ตำบล และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ที่ถูกรวบรวม และปรับใหอยูในระบบแผนที่เชิงเลข
                              สำหรับการปฏิบัติงานในพื้นที่ เจาหนาที่จะทำการประสานงานกับผูนำชุมชนในแตละหมูบาน
                       เพื่อประชาสัมพันธการเขาปฏิบัติงาน รวมถึงการเชิญชวนใหเกษตรกรนำหลักฐานเกี่ยวกับแปลงที่ดิน
                       ของตนเอง เขามาใหขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณจากแบบสอบถาม และชี้แปลงที่ดินบนแผนที่ภาพถายที่ได

                       เตรียมมาจากสำนักงาน เพื่อเปนขอมูลใชวิเคราะหจัดทำรูปเลมรายงานเสนอกรมฯ และหนวยงานตาง ๆ
                       ในพื้นที่ตอไป
                              ผลของการดำเนินงานในพื้นที่เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ เนื้อที่
                       43,628 ไร ครอบคลุมพื้นที่ 23 หมูบาน มีเขตที่ดินของรัฐ รอยละ 19.95 พื้นที่ทางการเกษตร

                       รอยละ 68.12 และเปนพื้นที่นอกการเกษตร เชน ที่อยูอาศัย สถานที่ราชการ วัด โรงเรียน เปนตน
                       รอยละ 11.93 มีเกษตรกรเปนเจาของที่ดินเอง รอยละ 67.34 ญาติ/เขาทำเปลา รอยละ 22.70 และ
                       เจาของใหขอมูลแทน รอยละ 5.89 โดยหลักฐานการถือครองที่ดินสวนใหญเปนเอกสารสิทธิประเภท
                       โฉนดที่ดินมากที่สุด รอยละ 90.95 รองลงมาเปน ส.ป.ก. 4-01 รอยละ 0.64 สำหรับขนาดของสัดสวน

                       แปลงที่ดินสวนใหญอยูในชวง 1-5 ไร รอยละ 61.35 รองลงมาแปลงที่ดินมีขนาด 5–10 ไร  รอยละ
                       26.34 และแปลงที่ดินที่มีขนาด 10-20 ไร รอยละ 6.38
                              ดานการใชประโยชนที่ดิน (ระดับ 3 ของกรมพัฒนาที่ดิน) พบวา เกษตรกรทำนามากที่สุด

                       รอยละ 83.62 รองลงมา คือ สถานเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ รอยละ 11.41 แหลงที่มาของน้ำที่ใชใน
                       การเกษตร พบวา เกษตรกรใชแหลงน้ำจากชลประทาน เปนหลัก รอยละ 94.86 ปญหาที่สงผลกระทบ
                       ตอผลผลิตมากที่สุด ๒ อันดับแรก ไดแก ราคาผลผลิตต่ำ รอยละ 86.13 รองลงมาเปนตนทุนการผลิตสูง
                       รอยละ 85.59 การใชปุยพบวา เกษตรมีการใชปุยเคมี/ปุยอินทรียมากที่สุด รอยละ 46.36 รองลงมา
                       คือ ปุยเคมี รอยละ 39.18 ไมใชปุย รอยละ 11.88 และปุยอินทรีย รอยละ 2.58 การใชสารเคมี

                       ปราบโรคพืชศัตรูพืช พบวา เกษตรกรมีการใชสารเคมีปราบโรคพืชศัตรูพืช รอยละ 69.06 และไมใช
                       สารเคมีปราบโรคพืชศัตรูพืช รอยละ 30.94 ปญหาดานดินที่พบในพื้นที่มากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก
                       ปญหาดินขาดความสมบูรณ รอยละ 44.54 รองลงมาดินเหนียว รอยละ 23.93 และดินทรายจัด รอยละ

                       9.64 อีกทั้งเกษตรกรในพื้นที่มีการปลูกไมยืนตนที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจจำนวน (รอยละ 7.55) และไมมี
                       การปลูกไมยืนตนที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจ (เปนรอยละ 92.45)
                              ในการบูรณาการขอมูลกับหนวยงานอื่นทางสำนักเทคโนโลยีการสำรวจและทำแผนที่ไดสอบถาม
                       ถึงการขึ้นทะเบียนของเกษตรกรกับกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งจากการสำรวจพบวามีเกษตรกร

                       เขารวมกิจกรรมบัตรดินดีของกรมพัฒนาที่ดิน รอยละ 2.41 และเกษตรกรยังไมเขารวมกิจกรรม
                       บัตรดินดี รอยละ 97.59 การประมาณบัญชีจากผลผลิตทางการเกษตร พบวา เกษตรกรมีรายรับนอย
   1   2   3   4   5   6   7