Page 19 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           ๙


                       3.4 การจัดทำฐานขอมูล
                              การจัดทำฐานขอมูลแบงงานออกเปน 2 สวน ดังนี้

                              1. การจัดการฐานขอมูลแผนที่เชิงเลข เปนการจัดทำแผนที่โดยนำขอมูลแผนที่จากหนวยงาน
                       ตางๆ ที่มีรูปแปลงที่ดิน พรอมเลขที่ดินมาประกอบเปนแผนที่การถือครองที่ดิน ทั้งนี้เพื่อเปนขอมูลสำหรับ
                       ใชในการสำรวจในพื้นที่ดำเนินงาน ซึ่งภายหลังเมื่อแลวเสร็จจึงใชเทคนิคดานสารสนเทศภูมิศาสตร
                       เชื่อมโยงขอมูลแผนที่เขากับขอมูลจากการสัมภาษณ

                              2. การจัดการขอมูลอรรถาธิบาย เปนการออกแบบ และการจัดการฐานขอมูล ที่ไดจาก
                       การสอบถาม เพื่อใชสำหรับเชื่อมโยงกับขอมูลแผนที่เชิงเลข

                       3.5 การวิเคราะหขอมูล
                              หลังจากการตรวจสอบความถูกตอง ครบถวนของขอมูลแลว ดำเนินการวิเคราะหขอมูลดวย
                       โปรแกรมดานภูมิสารสนเทศ โดยแบงลักษณะขอมูลออกเปนหัวขอตาง ๆ ดังนี้

                              1. เขตการปกครองในพื้นที่ดำเนินงาน
                              2. การถือครองที่ดินในพื้นที่ดำเนินงาน
                              3. สัดสวนของขนาดแปลงที่ดินในพื้นที่ดำเนินงาน
                              4. การจำแนกประเภทของการถือเอกสารสิทธิในพื้นที่ดำเนินงาน

                              5. การจำแนกลักษณะของผูใชประโยชนในที่ดินในพื้นที่ดำเนินงาน
                              6. การใชประโยชนที่ดินตามการจำแนกการใชประโยชนที่ดินระดับ 3 ของกรมพัฒนาที่ดิน
                              7. ลักษณะปญหาดานการเกษตรที่พบในพื้นที่ดำเนินงาน
                              8. แหลงที่มาของน้ำที่ใชในดานเกษตรกรรมของเกษตรกร

                              9. การใชปุยในการเพาะปลูกในพื้นที่ดำเนินงาน
                              10. การใชสารเคมีปราบโรคพืชศัตรูพืชในพื้นที่ดำเนินงาน
                              11. ลักษณะปญหาดานดินเพื่อการเพาะปลูกในพื้นที่ดำเนินงาน

                              12. การเขารวมกิจกรรมบัตรดินดีของกรมพัฒนาที่ดิน
                              13. การไดรับบริการจากกรมพัฒนาที่ดิน
                              ๑๔. การประมาณบัญชีจากผลผลิตทางการเกษตร
                              ๑5. การปลูกไมยืนตนที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจ
                              16. การไดรับบริการความรูวิชาการ แกไขปญหาดินเค็มและการใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสม

                              17. การไดรับบริการองคความรูและแปลงสาธิตการใชประโยชนพื้นที่ดินเค็ม
                       3.6 การนำเสนอผลการดำเนินงาน
                              เพื่อนำเสนอตอสถานีพัฒนาที่ดินกาฬสินธุ และสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 สำหรับใชใน

                       ประโยชนดานฐานขอมูล และแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรของหนวยงาน รวมถึงเผยแพร
                       ตอองคการปกครองสวนทองถิ่นที่ไดเขาไปปฏิบัติงานในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกสและไฟลแผนที่เชิงเลข
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24