Page 17 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           ๗


                                                             บทที่ 3


                                                       วิธีการดำเนินงาน


                              การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน ในแผนโครงการปลูกไมยืนตนทนเค็ม

                       เพื่อปองกันการกระจายดินเค็ม มีวิธีการดำเนินงานแบงเปน 6 ขั้นตอน (รูปที่ 3.1) ดังนี้
                       ๓.๑ การกำหนดพื้นที่เปาหมายการดำเนินงาน

                              ๑. ผูเชี่ยวชาญดานวางระบบการพัฒนาที่ดิน สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต คัดเลือกพื้นที่ดำเนินงาน
                       โครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน ในแผนโครงการปลูกไมยืนตนทนเค็มเพื่อปองกัน
                       การกระจายดินเค็ม ซึ่งสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ไดจัดสงพื้นที่ของสถานีพัฒนาที่ดินกาฬสินธุ ไดแก

                       พื้นที่ดำเนินงานในเขตเทศบาลตำบลบัวบานอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ
                              2. สำนักเทคโนโลยีการสำรวจและทำแผนที่ ไดพิจารณาพื้นที่ดำเนินงานเบื้องตนที่เปนพื้นที่
                       เกษตรกรรมที่อยูนอกเขตปาไมตามกฎหมาย (เขตปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี เขตปาสงวนแหงชาติ
                       เขตอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา)

                              3. สงขอมูลใหสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 และสถานีพัฒนาที่ดินกาฬสินธุ เพื่อพิจารณายืนยัน
                       พื้นที่ดำเนินงานของสถานีพัฒนาที่ดินกาฬสินธุ

                       3.2 การจัดเตรียมขอมูล การประสานงาน และการประชาสัมพันธ
                              สำนักเทคโนโลยีการสำรวจและทำแผนที่ (สสผ.) โดยกลุมสำรวจและผลิตแผนที่และภาพถายที่ 1
                       เมื่อไดรับพื้นที่ดำเนินงานจากสถานีพัฒนาที่ดินกาฬสินธุ จึงไดจัดเตรียมขอมูลและแผนที่ ดังนี้

                              1. จัดทำแผนที่ในระบบภูมิสารสนเทศ ไดแก เขตการปกครอง ป 2556 เขตชลประทาน
                       ป 2556 เขตปฏิรูปที่ดิน เขตลุมน้ำหลัก เขตชั้นคุณภาพลุมน้ำ สถานที่สำคัญ ทางคมนาคม แหลงน้ำ
                       แผนที่การใชประโยชนที่ดิน
                              2. ประสานกับหนวยงานที่จัดทำรูปแปลงที่ดิน ไดแก กรมที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน

                       เพื่อเกษตรกรรม และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อขอคัดลอกรูปแปลงที่ดิน และขอมูลแปลงที่ดิน
                                 3. ออกแบบแบบสอบถาม เพื่อใชเปนเครื่องมือในการสัมภาษณเกษตรกร
                                 4. จัดทำแผนที่การถือครองที่ดินเพื่อการสำรวจภาคสนาม โดยขอมูลบนแผนที่ ไดแก เลขที่ดิน-
                       ประจำแปลงที่ดิน (รายแปลง) เพื่อไวใชเทียบเคียงกับสำเนาโฉนดที่ดินของเกษตรกรที่นำมาใหบันทึก

                       ขอมูลบนแบบสัมภาษณ
                                 5. ประสานงานกับหนวยงานของกรมพัฒนาที่ดินในพื้นที่ทั้งสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 และ
                       เจาหนาที่สถานีพัฒนาที่ดินกาฬสินธุ รวมทั้งหนวยงานทองถิ่น ไดแก นายอำเภอ องคการปกครอง

                       สวนทองถิ่น กำนัน และผูใหญบาน เพื่อประชาสัมพันธโครงการฯ และนัดหมาย วัน เวลา และสถานที่
                       เขาปฏิบัติงานของเจาหนาที่ เพื่อใหเกษตรกรในทุกหมูบานเขาใหขอมูลกับเจาหนาที่

                       3.3 การสำรวจการถือครองที่ดินดานการเกษตรรายแปลง
                              1. ดำเนินการสัมภาษณเกษตรกรตามตารางนัดหมาย โดยเกษตรกรผูมาใหสัมภาษณตองนำบัตร

                       ประชาชนหลักฐานเอกสารการถือครองที่ดินและสมุดทะเบียนเกษตรกร (ถามี) แสดงตอเจาหนาที่
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22