Page 32 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            26




                   ตารางที่ 11  การเพิ่มขึ้นความยาวทางใบ ปีที่ 1 และ ปีที่2

                                                                           การเพิ่มขึ้นของความยาวทางใบ (เมตร)
                                    ต้ารับการทดลอง
                                                                    กํอนการทดลอง       ปีที่ 1         ปีที่ 2
                   ต ารับที่ 1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์ตาม
                          ความต๎องการปูน                              2.64ab           3.22b          4.82a
                   ต ารับที่ 2 วิธีตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตร    2.50bcd           3.41a          4.50b
                   ต ารับที่ 3    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎
                            ยางพารา ในอัตรา  500 กิโลกรัมตํอไรํ       2.31cd           3.04c          4.12c
                   ต ารับที่ 4    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎
                          ยางพารา ในอัตรา  600 กิโลกรัมตํอไรํ         2.19d            3.08c          4.13c
                   ต ารับที่ 5    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎
                          ยางพารา ในอัตรา  700 กิโลกรัมตํอไรํ        2.81abc           2.90c          4.12c
                   ต ารับที่ 6  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎
                          ยางพารา ในอัตรา  800 กิโลกรัมตํอไรํ         2.95a            2.98c          4.15c
                   ต ารับที่ 7    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎
                          ยางพารา ในอัตรา  900 กิโลกรัมตํอไรํ         2.65ab           2.80c          4.20c
                   ต ารับที่ 8    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎
                          ยางพารา ในอัตรา  1,000 กิโลกรัมตํอไรํ      2.47bcd           2.98c          4.22c
                                       F-test                           **              **              **
                                      CV (%)                           8.89            3.88            4.03

                     หมายเหตุ   ** หมายถึง แตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่ง (P<0.01)
                                   คําเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด๎วยอักษรเดียวกัน ไมํแตกตํางกันที่ระดับความเชื่อมั่น
                                   99% โดยวิธี DMRT

                             3.1.3   การเพิ่มขึ้นของความกว๎างทางใบ
                          ท าการเก็บข๎อมูลการเจริญเติบโตของปาล์มน้ ามันโดยวัดขนาดความกว๎างทางใบของปาล์มน้ ามัน(ทาง

                     ใบที่ 17)ที่ บันทึกข๎อมูลความกว๎างทางใบของปาล์มน้ ามันได๎อยูํในชํวงเฉลี่ยของต ารับการทดลองที่ 1 2 3 4 5
                     6  7และ 8 ปรากฏผลดัง ตางรางที่11 จากนั้นจึงท าการวัดการเพิ่มขึ้นของขนาดความกว๎างทางใบทุกๆ 1 ปี
                     ผลการวิเคราะห์ข๎อมูลทางทางสถิติของการเพิ่มขึ้นของขนาดความยาวทางใบ ได๎ผลดังนี้

                          ปีที่ 1  (ปี พ.ศ. 2562) พบวําความกว๎างทางใบของปาล์มน้ ามันเพิ่มขึ้น ไมํมีความแตกตํางทางสถิติให๎
                     ความกว๎างอยูํในชํวง  3.33 -3.77 เซนติเมตร ซึ่งในต ารับที่ 2 วิธีตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตรมีความ
                     กว๎างมากที่สุด คือเทํากับ 3.77 เซนติเมตร และให๎คําความกว๎างทางใบต่ าสุดในต ารับที่ 5  ½ปุ๋ยเคมีตามคํา
                     วิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  700 กิโลกรัมตํอไรํ มีคําเทํากับ 3.33เซนติเมตร ดังแสดงใน
                     ตารางที่ 11

                                 ในปีที่ 2 (พ.ศ. 2563) พบวําความกว๎างทางใบของปาล์มน้ ามันเพิ่มขึ้น ในต ารับที่ 4  ½ปุ๋ยเคมี
                     ตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  600  กิโลกรัมตํอไรํ มีความกว๎างทางใบมากที่สุด คือ
                     เทํากับ 5.22 เซนติเมตร มีความแตกตํางทางสถิติอยํางมีนัยส าคัญกับต ารับที่ 5 6 7 และ8  ซึ่งมีคําเทํากับ

                     4.77 4.83 4.57   และ4.75 เซนติเมตร ตามล าดับ ดังแสดงในตารางที่ 11 แตํอยํางไรก็ตามในปีที่ 2 ความ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37