Page 29 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
3.1 การเจริญเติบโตของปาล์มน้ ามัน
3.1.1 การเพิ่มขึ้นของความสูง
ท าการเก็บข๎อมูลการเจริญเติบโตของปาล์มน้ ามันโดยวัดขนาดความสูงของปาล์มน้ ามัน
พื้นดินถึงยอดที่มีการแตกใบใหมํกํอนการด าเนินการทดลอง บันทึกข๎อมูลความสูงของปาล์มน้ ามันได๎อยูํในชํวง
เฉลี่ยต ารับการทดลองที่ 1 2 3 4 5 6 7และ 8 ปรากฏผลดังนี้ ตางรางที่10 จากนั้นจึงท าการวัดการเพิ่มขึ้นของ
ขนาดความสูงทุกๆ 1 ปี ผลการวิเคราะห์ข๎อมูลทางทางสถิติของการเพิ่มขึ้นของขนาดความสูงปีที่ 1 (ปี พ.ศ.
2562) ได๎ผลดังนี้
ในปีที่ 1 (พ.ศ. 2562) พบวําความสูงของปาล์มน้ ามันเพิ่มขึ้น ในต ารับที่ ต ารับที่ 2 วิธีตามค าแนะน า
ของกรมวิชาการเกษตรมีความสูงมากที่สุด คือเทํากับ 4.40 เมตร มีความแตกตํางทางสถิติอยํางมีนัยส าคัญกับ
ต ารับที่ 3 4 5 6 7 และ8 ซึ่งมีคําเทํากับ 4.02 3.93 3.90 3.80 และ3.87 ตามล าดับ แตํไมํแตกตํางกับ ต ารับ
ที่ 1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์ตามความต๎องการปูน ซึ่งมีคําเทํากับ 4.23 เมตร (ตารางที่
10)
ในปีที่ 2 (พ.ศ. 2563) พบวําความสูงของปาล์มน้ ามันเพิ่มขึ้น ในต ารับที่ 1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+
การใช๎ปูนโดโลไมท์ตามความต๎องการปูน และต ารับที่ 2 วิธีตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตรมีความสูงมาก
ที่สุด คือเทํากับ 6.10 เมตร มีความแตกตํางทางสถิติอยํางมีนัยส าคัญกับต ารับที่ 5 และ7 ซึ่งมีคําเทํากับ 5.55
และ5.37 เมตรตามล าดับ แตํไมํแตกตํางกับ ต ารับที่ 3 4 6 และ 8 ซึ่งมีคําเทํากับ 5.72 5.87 5.70 และ 5.80
เมตร (ตารางที่ 10)