Page 24 - ผลของปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) ร่วมกับมูลไก่ต่อผลผลิตและคุณภาพแตงโมหลังนาข้าว Effect of Bio-Fertilizer (LDD.12) and chicken manure to yield and quality of watermelon planted after rice.
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                         ประโยชน์ที่ได้รับ


                         1.  ท าให้ทราบถึงอัตราปุ๋ยชีวภาพขยายเชื้อจุลินทรีย์ที่ตรึงไนโตรเจน จุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัสและ
                   โพแทสเซียมร่วมกับมูลไก่ที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน ปริมาณและคุณภาพความหวานของ
                   แตงโมหลังนาข้าว แม้ว่าปุ๋ยอินทรีย์จะมีธาตุอาหารในปริมาณที่ต่ ากว่าปุ๋ยเคมี แต่มีธาตุอาหารพืชครบถ้วน อีกทั้งมี
                   คุณประโยชน์ต่อพืชในด้านการปรับปรุงบ ารุงดิน ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุนดิน แต่อย่างไรเกษตรกรยังจ าเป็นต้องใช้

                   ปุ๋ยเคมีร่วมด้วย  เพราะปุ๋ยเคมีมีปริมาณธาตุอาหารสูง ซึ่งจะช่วยชดเชยและเพิ่มธาตุอาหารหลัก รอง และจุลธาตุ
                   อาหารที่ปุ๋ยอินทรีย์มีอยู่น้อย หรือไม่มีเลยให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช

                         2. ผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ร่วมด าเนินการวิจัยนี้ รวมทั้งเกษตรกรที่ปลูกแตงโมหลังนาข้าว
                   ที่มีลักษณะเนื้อดินร่วนปนทราย/ดินทรายปนดินร่วน ตลอดจนเกษตรกรที่ต้องการลดใช้ปุ๋ยเคมีระยะปรับเปลี่ยนสู่

                   ระบบเกษตรอินทรีย์ และนักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือบุคคลผู้ที่สนใจใฝ่รู้ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของ
                   หน่วยงานภาครัฐ สามารถน าผลการวิจัยนี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์และก่อให้เกิดรายได้เสริมแก่ครัวเรือนเกษตรกรได้

                                                      การเผยแพร่ผลงานวิจัย


                         คณะผู้วิจัยจะด าเนินการเผยแพร่ผลงานวิจัยทางสื่อโซเชียลออนไลน์ ได้แก่ เพจกลุ่มวิชาการเพื่อการ
                   พัฒนาที่ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 รวมทั้งการน าเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการกรมพัฒนาที่ดิน


                                                          เอกสารอ้างอิง


                   กรมพัฒนาที่ดิน. 2549.  สารเร่งประเภทจุลินทรีย์ พด.7 ส าหรับผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพร.
                         กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.  22  หน้า.
                   _____.  2556.  ชุดองค์ความรู้กึ่งศตวรรษพัฒนาที่ดิน เทคโนโลยีชีวภาพทางดิน.  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,
                         กรุงเทพฯ.
                   _____.  2548ข.  รายงานการจัดการทรัพยากรดิน เพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 2  ดินบน
                         พื้นที่ดอน.  กรมพัฒนาที่ดิน  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.  643 หน้า.

                   คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา.  2544.  ปฐพีวิทยาเบื้องต้น.  ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
                         547 หน้า
                   จิรเวฐน์ เพ็ชร์สุทธิ์.  2544.  อิทธิพลของอายุผลแตงโมสายพันธุ์ต่างๆ ต่อการถ่ายทอดเชื้อ
                         Acidovoraxavenaesubsp.citrulliผ่านทางเมล็ดและวิธีการควบคุมเชื้อที่ติดมากับเมล็ด.  วิทยานิพนธ์

                         ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
                   เฉลิมเกียรติ โภคาวัฒนา และ เกตุอร ราชบุตร.  ม.ป.ป.  การปลูกแตงโม.  เอกสารเผยแพร่กรมส่งเสริมการเกษตร.
                         แหล่งที่มา: http://ag-ebook.lib.ku.ac.th, 10 กันยายน 2557.
                   ชยพร แอคะรัจน์.  2549.  ศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการแก้การพักตัวของเมล็ดพันธุ์แตงโม, น. 1-13.  ใน รายงาน
                         ผลการวิจัย.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์, กาฬสินธุ์.
                   ด ารงค์ สินไชย.  2551.  ผลการใช้วัสดุอินทรีย์และอาหารเสริมทางใบร่วมกับปุ๋ยเคมีในการผลิตแตงโม, น. 1-3.  ใน
                         รายงานผลการวิจัย.วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง, ตรัง.

                   ตลาดสี่มุมเมือง.2560.  ราคาสินค้า ผลไม้ แตงโมกินรีเบอร์กลาง ราคาสินค้า.  แหล่งที่มา:
                         http://www.taladsimummuang.com/dmma/Portals/PriceListItem.aspx?id=020105012, 14
                         กันยายน 2560.
                   ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และ ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์.  2550.  คู่มือส าหรับการเกษตรยุคใหม่ ธรรมชาติของดินและ
                         ปุ๋ย.  กร ครีเอชั่น, กรุงเทพฯ.
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29