Page 57 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            ี ์
                      เกษตรอ                   ินทรย

                                        ี ่วนรวม PGS
                      แบบมส                             ่


                                                                   ปราโมทย์ แย้มคลี่ กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน



        พื นที เกษตรอินทรีย์โลก                                                                            5.9 ล้าน ha
                                              3.6 ล้าน ha                                                    Asia
      พื นที เกษตรอินทรีย์อินทรีย์ทั วโลก ครอบคลุม 178  North America  16.5 ล้าน ha
                                                                     Europe
      ประเทศ มีเนื อที รวม 72.3 ล้านเฮกตาร์
         1.  ออสเตรเลีย  35.7 ล้านเฮกตาร์
                                                                                                           0.057 ล้าน ha
         2.  อาร์เจนตินา    3.7 ล้านเฮกตาร์                                                                  Thailand
        3.  สเปน           2.4 ล้านเฮกตาร์
                                                      8.3 ล้าน ha
        พื นที เกษตรอินทรีย์ไทย                      Latin America                            36 ล้าน ha
                                                                                              Oceania
          มีพื นที ทําเกษตรอินทรีย์ เป นอันดับที  58 ใน
          178 ประเทศ มีพื นที ทั งหมด 222,137 ไร่

          เกษตรกรทั งหมด 15,974 ราย + 408 กลุ่ม   Participatory Guarantee Systems (PGS) คือ ?
                                                        PGS คือกระบวนการรับรองแบบมีส่วนร่วมที สหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (IFOAM) พัฒนาขึ น
                                                       ตั งแต่ป  2548 นับเป นอีกระบบหนึ งของการรับรองผู้ผลิตตามหลักการและมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
    คํานิยาม : เกษตรอินทรีย์                            โดยการมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งต่อเนื องของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของชุมชน ภายใต้หลักการพื นฐาน
                                                       ความโปร่งใส ความไว้วางใจซึ งกันและกัน มีการสร้างเครือข่ายทางสังคมด้วยการแลกเปลี ยนเรียนรู้
                                                              เพื อกระตุ้นให้เกษตรกรพัฒนาการผลิตเข้าสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์มากยิ งขึ น
                    หมายถึง  ระบบการจัดการผลิตด้าน
   การเกษตรแบบองค์รวม  ที เกื อหนุนต่อระบบนิเวศ
   รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ  วงจรชีวภาพ                 การมีส่วนร่วม                             แลกเปลี ยนความเห็น
   โดยเน้นการใช้วัสดุธรรมชาติ  หลีกเลี ยงการใช้
   วัตถุดิบจากการสังเคราะห์และไม่ใช้พืช  สัตว์ หรือ                              หลักการ
   จุลินทรีย์ที ได้มาจากเทคนิคการดัดแปรพันธุกรรม
                                                          กระบวนการเรียนรู้                            ความโปร่งใส
   ( g e n e t i c   m o d i f i c a t i o n )  มีการจัดการกับ                    พีจีเอส
   ผลิตภัณฑ์โดยเน้นการแปรรูปด้วยความระมัดระวัง
   เพื อรักษาสภาพการเป นเกษตรอินทรีย์และคุณภาพ
   ที สําคัญของผลิตภัณฑ์ในทุกขั นตอน                      สัมพันธ์แนวราบ                              ความไว้วางใจ








                                     ผลสําเร็จ
                                     ของ PGS




              เชิงเศรษฐกิจ     เกษตรกรมีความสามารถกําหนดราคาผลผลิตได้เอง ลดป ญหาความผันผวนทางราคาผลผลิต หรือถูกกดราคาจากพ่อค้า
                               คนกลาง ลดต้นทุนของป จจัยการผลิต ลดปริมาณวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในไร่นา ทําให้เกษตรกรมีรายได้เพิ มขึ น

           เชิงคุณภาพและ       เกิดกลุ่มผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ขึ น ซึ งเป นกลุ่มที มีความเข้มแข็ง มีกลุ่มเกษตรกรเพิ มขึ น จากเริ มแรก เกษตรกรและ
           ปริมาณ              ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที ดีขึ น เกิดต้นแบบธนาคารปุ ยอินทรีย์ และธนาคารเมล็ดพืชปุ ยสด รวมถึงเกิดแบรนด์
                               ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที มีคุณภาพผ่านการรับรอง และเป นที พึงพอใจต่อผู้บริโภค
  เชิงสิ งแวดล้อม              ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ นเพิ มขึ น ซึ งเป นดัชนีชี วัดความสมดุลของระบบนิเวศ บ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของ

                               ทรัพยากรธรรมชาติที ได้รับการฟ    นฟู


                                                                                                                   52
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62