Page 56 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








          การจัดการดินกรด

          เพื่อปลูกพริกไถยคุณภาพ                                                                         ณรงค์เดช ฮองกูล



                                                                                              กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน

             การใช้ปูนโดโลไมท์ตามค่า LR ปรับปรุงดินกรด และปลูกถั่วพร้าบ ารุงดิน เพื่อปลูกพริกไทยคุณภาพ

         ในปี 2552 ภาคตะวันออกนิยมปลูกพริกไทย เพื่อแก้ปัญหาราคาผลไม้ตกต่ า เนื่องจากพริกไทยมีช่องทาง

        การตลาดที่ดีกว่า และสามารถเก็บผลผลิตไว้ได้นาน แต่ด้วยสภาพดินที่เป็นกรด จึงเป็นอุปสรรคต่อ

        การเจริญเติบโตใบและล าต้นเหลือง แล้วตายในที่สุด




       การจัดการดินกรด เพื่อปลูกพริกไถยคุณภาพ (อินถรีย์)





        1. เก็บตัวอย่างดิน เพื่อวิเคราะห์ค่า pH

           และค่าความต้องการปูน (Lime requirement (LR))
        2. หว่านปูนโดโลไมท์ตามค่าการวิเคราะห์ดิน

        3. ไถพรวนดิน ลึก 15 - 120  ซม.

        4. ในพื้นที่ดินลูกรัง ใช้รถแบคโฮลขุดหลุมปลูก ลึก 8 ซม.

        5. พักดิน 3 - 4 เดือน

        6. ปลูกพริกไทยระยะ 2 x 2 เมตร

        7. ใส่ปูนโดโลไมท์อัตราเดิมอีกครั้ง เมื่อพริกไทยอายุ 3 เดือน

        8. ปลูกถั่วพร้าแซมระหว่างแถวต้นพริกไทย




        ผลผลิต




                                                       ได้ผลผลิตพริกไทยเฉลี่ย 2 ตัน/ไร่/ปี





                                                   ราคาขายผลผลิต 80 - 300 บาท/กก.











                                                                                                                51
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61