Page 22 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน










                                                                                        อารีรัตน์ วังแก้ว
                                                                           กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน

              การฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มจัดด้วยการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มจัดท าขึ้นในเขตอ าเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา

      เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรถึงวิธีการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มจัดด้วยการปลูกไม้ทนเค็ม กระถินออสเตรเลีย

      (Acacia ampliceps) ซึ่งเป็นพืชที่มีความสามารถทนเค็มสูง และเจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินเค็มจัด มีการจัดท าแปลง

      สาธิต การปลูกกระกินออสเตรเลียบนพื้นที่จ านวน 4,665 ไร่ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ส าหรับเกษตรกรในพื้นที่โดยมี

      ความร่วมมือจากหมอดินอาสา ผู้น าชุมชน และอบต. ให้การสนับสนุน






                                         1) แก้ไขปัญหาพื้นที่ดินเค็มและป้องกันการแพร่กระจายดินเค็ม โดยการปลูกพืช

                                            ไม้ทนเค็ม ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและลงทุนต่ า
                                         2) พัฒนาการใช้ประโยชน์พื้นที่ดินเค็มให้สามารถปลูกพืชเพื่อรักษาสภาพแวดล้อม

                                            เพิ่มผลผลิตพืชเพื่อการบริโภค และผลิตเป็นพืชเศรษฐกิจ







                                        1. ประชาสัมพันธ์โครงการ

                                        2. แจงรายละเอียดโครงการ ในพื้นที่หมู่บ้านเป้าหมาย

                                        3. คัดเลือกเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

                                        4. ให้ด าแนะน าเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่

                                             1) ปรับคันนาให้มีความกว้างของสันคันนา 1.50 เมตร

                                             2) ปรับขนาดหลุมบนคันนาให้เหมาะสม

                                        5. จัดท าแปลงสาธิต หลังฤดูการเก็บเกี่ยวข้าว

                                        6. ติดตามการด าเนินงาน ช่วง 1 ปีแรกหลังการปลูก







             ความเค็มของดินลดลง

             กิ่งของกระถินออสเตรเลียสามารถใช้เผาเป็นถ่านได้ ใบให้ปุ๋ยแก่ดิน ล าต้นให้ร่มเงา และเพิ่มความร่มรื่นให้กับพื้นที่
             เลี้ยงสัตว์ภายในแปลงได้หลังปลูกกระถินออสเตรเลียไปแล้ว 2 ปี

             มีหมอดินอาสาอยู่ในพื้นที่คอยให้ค าปรึกษาและช่วยประสานงานกับเจ้าหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดิน


           เอกสารฉบับเต็มหัวข้อที่ 11 การฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มจัดด้วยการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็ม                             17
           จากหนังสือ 37 เทคโนโลยีเพื่อการจัดการดินอย่างยั่งยืน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27