Page 13 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระชายเหลือง กระวาน ข่า ขิง คำฝอย ตะไคร้ พริกไทย ฟ้าทะลายโจร และว่านชักมดลูก
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                                                         บทที่ 2



                                                      ข้อมูลทั่วไป



                  2.1  กระชายเหลือง


                        ชื่อวิทยาศาสตร์  Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.

                        ชื่อวงษ์  Zingiberaceae

                        ชื่อสามัญ  Fingerroot, Chinese ginger, Chinese keys, Galingale
                        ชื่อท้องถิ่น  ว่านพระอาทิตย์ (กรุงเทพมหานคร)  กระชายดํา กะแอน ขิงทราย (มหาสารคาม)

                  จี๊ปู ซีฟู เปาซอเร๊าะ เป๊ าสี่ เป๊ าะสี่ ระแอน เป๊ าะซอเร้าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ละแอน (ภาคเหนือ) ขิงจีน


                        2.1.1  ลักษณะทั่วไป


                            ต้นกระชาย มีถิ่นกําเนิดในเขตร้อนบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจัดเป็นไม้ล้มลุก

                  มีเหง้าสั้น แตกหน่อได้ มีรากอวบ เป็นรูปทรงกระบอกหรือรูปทรงไข่ค่อนข้างยาว ปลายเรียว มีความ
                  ยาวประมาณ 4-10 เซนติเมตร และกว้างประมาณ 1-2 เซนติเมตร ออกเป็นกระจุก ผิวมีสีนํ้าตาลอ่อน

                  ส่วนเนื้อในมีสีเหลืองและมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มักพบขึ้นในป่าดิบร้อนชื้น























                  ภาพจาก : http://www.thaiarcheep.com

                            ใบกระชาย  คือ  ลักษณะของส่วนที่อยู่เหนือดิน มีประมาณ 2-7 ใบ ลักษณะของใบเป็น

                  ใบเดี่ยว เรี ยงสลับ ลักษณะเป็ นรู ปรี  ใบยาวประมาณ 12-50             เซนติเมตรและ

                  กว้างประมาณ 5-12  เซนติเมตร โคนใบมนหรือแหลม ส่วนปลายใบเรียวแหลม มีขอบเรียบ
                  เส้นกลางใบ ด้านใบ และกาบใบด้านบนจะเป็นร่อง ส่วนด้านล่างจะนูนเป็นสัน ด้านใบเรียบมีความ





                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระชายเหลือง กระวาน ข่า ขิง คําฝอย ตะไคร้ บุก พริกไทย ฟ้าทะลายโจร และว่านชักมดลูก   กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18