Page 54 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          3-14






                            นอกจากนี้ในแตละชั้นของความเหมาะสม (Class) ยังแบงออกเปนชั้นยอย (Subclass) ซึ่ง

                  เปนขอจํากัดของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตของพืชสมุนไพร เชนความเสียหายจากการ

                  กัดกรอน (e) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) เปนตน

                  ตารางที่ 3-4 โครงสรางการจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน


                             Order                                                    Class
                             Subclass

                             S : Suitable                      S1
                                                                  S2
                             S2m
                                                                  S3

                             S2e


                             S2me

                             N : Not suitable                 N






                  3.6  คุณภาพที่ดินที่ใชในการประเมินและชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับสมุนไพร

                          ในการประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพสําหรับพืชสมุนไพร 10 ชนิด ไดแก กระเจี๊ยบแดง

                  เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน  นั้นใช
                  คุณภาพที่ดินทั้ง 12 ชนิด โดยใชตามคูมือการประเมินคุณภาพที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ ของกองวางแผนการใช

                  ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (บัณฑิต และคํารณ, 2542) ซึ่งใชหลักการเดียวกันกับของ FAO Framework ป 1983 ซึ่ง

                  เปนวิธีที่กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ใชประเมินคุณภาพที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจตางๆ
                  ในปจจุบัน สําหรับการแบงระดับของปจจัย (Factor  rating)  นั้นใชขอมูลความตองการของพืชสมุนไพรชนิด

                  ตางๆ ที่อางอิงมาจากเอกสารวิชาการและงานวิจัยจากหนวยงานราชการ และมหาวิทยาลัยตางๆ รวมถึงการเก็บ
                  ขอมูลจากการสํารวจและสัมภาษณเกษตรกรในแหลงปลูกสมุนไพรที่สําคัญภายในประเทศ นอกจากนี้ ยังใช

                  ขอมูลความตองการของพืชสมุนไพรที่อยูในวงษ (Family) เดียวกันและมีลักษณะการเจริญเติบโตใกลเคียงกันใน

                  การพิจารณารวมดวย จากนั้นนํามาแบงเปนระดับตางๆโดยอางอิงการแบงระดับของปจจัยในพืชที่อยูวงษ
                  เดียวกัน และมีลักษณะการเจริญเติบโตใกลเคียงกันซึ่งอยูในคูมือการประเมินคุณภาพที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ

                  ของกรมพัฒนาที่ดิน อยางไรก็ตามคาพิสัยของคุณภาพที่ดินบางชนิด มีขอจํากัดดานขอมูล ไดแก ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุ ชั้นการหยั่งลึกของราก จํานวนครั้งที่น้ําทวมในชวงรอบปที่กําหนดและปริมาณดินที่สูญเสียเปนตน

                  จึงไมไดนํามาใชในการประเมินระดับชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพรทั้ง 10 ชนิดในครั้งนี้




                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59