Page 54 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             37






                              สภาพปัญหาและข้อจ ากัดของดินในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย ส่วนใหญ่เป็นดินที่มีความอุดม

                   สมบูรณ์ต่ า ดินทราย และดินตื้น รวมทั้งการใช้ที่ดินไม่เหมาะสมตามศักยภาพ ซึ่งส่งผลต่อการท าเกษตรกรรม
                   ของเกษตรกรในพื้นที่เป็นอย่างมาก แม้ว่าในพื้นที่จะมีความลาดชันน้อยถึงปานกลาง ลักษณะของดินส่งผล

                   ต่อการชะล้างพังทลายในพื้นที่เป็นอย่างมาก โดยแยกเป็น 4 ประเภท ดั้งนี้
                              1) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                                 ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุ ธาตุโพแทสเซียม และฟอสฟอรัสที่

                   เป็นประโยชน์ต่อพืชอยู่ในเกณฑ์ต่ าถึงต่ ามาก ความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและแลกเปลี่ยนธาตุ
                   อาหารต่ ามาก เมื่อมีการใส่ปุ๋ยเคมีลงไปท าให้เกิดการสูญเสียไปจากดินได้ง่าย ท าให้การตอบสนองต่อการ

                   ใช้ปุ๋ยเคมีของพืชน้อย รวมทั้งการปลูกพืชติดต่อกันเป็นเวลานานโดยไม่มีการปรับปรุงดินหรือเพิ่มความ

                   อุดมสมบูรณ์แก่ดินเท่าที่ควรท าให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง และความเป็นกรดของดินส่งผลต่อการ
                   เจริญเติบโตของพืช ส่งผลต่อการดูดซับธาตุอาหารที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ท าให้ดินเสื่อมโทรม

                   ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง ผลผลิตตกต่ า สภาพปัญหานี้พบกระจายครอบคลุมเนื้อที่รวม 56,760 ไร่

                   หรือร้อยละ 47.27 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า สามารถแบ่งเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในพื้นที่ลุ่ม พบหน่วยแผน
                   ที่ Lah-slA Nad-Pp-gm-slB Pho-slA Re-pic-slA และ Re-slA มีเนื้อที่ 29,902 ไร่ หรือร้อยละ 24.90 ของ

                   เนื้อที่ลุ่มน้ า และดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในพื้นที่ดอน พบหน่วยแผนที่ Chp-slA Chp-slB Ht-slB
                   Msk-lsB Ndg-slA Ptc-mw-slB Ptc-slB และPtk-slB มีเนื้อที่ 26,858 ไร่ หรือร้อยละ 22.37 ของเนื้อที่

                   ลุ่มน้ า
                              2) ดินทรายจัด

                                 ดินที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทราย หรือดินทรายปนดินร่วนมีอนุภาคขนาดทรายเป็น

                   องค์ประกอบมากกว่าร้อยละ 85 มีความหนามากกว่า 50 เซนติเมตร ดินมีการระบายน้ าดีจนถึงดีเกินไป
                   ไม่อุ้มน้ า ท าให้ดินเก็บน้ าไว้ไม่อยู่และเกิดการกร่อนได้ง่าย มักเกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินที่เป็นตะกอน

                   เนื้อหยาบหรือตะกอนทรายชายฝั่งทะเล จากลักษณะของดินดังกล่าว ท าให้การยึดเกาะตัวของดินไม่ดี

                   เกิดการชะล้างพังทลายของดินได้ง่าย สภาพปัญหานี้ครอบคลุมพื้นที่รวม 16,216 ไร่ หรือร้อยละ 13.5
                   ของเนื้อที่ลุ่มน้ า สามารถแบ่งเป็นดินทรายพื้นที่ลุ่ม พบหน่วยแผนที่ Nu-slA มีเนื้อที่ 1,580 ไร่ หรือ

                   ร้อยละ 1.32 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า และดินทรายในพื้นที่ดอน พบหน่วยแผนที่ Kg-lsB มีเนื้อที่ 16,216 ไร่ หรือ

                   ร้อยละ 13.51 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า
                              3) ดินตื้น

                                 เป็นดินที่เป็นชั้นดินหนาประมาณ 50 เซนติเมตร ส่วนใหญ่มีเนื้อดินเป็นดินทรายปน
                   ดินร่วน มีชั้นกรวดลูกรัง หรือเศษหินปะปนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 35 โดยปริมาตร หรือพบหินพื้น

                   ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน จากลักษณะของดินดังกล่าวถือเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโต

                   ของพืชด้านการชอนไชของรากพืช ท าให้การเกาะยึดตัวของดินไม่ดี ยากแก่การไถพรวน เกิดการชะล้าง
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59