Page 4 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 4

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน









                    การจัดท าแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ

               อนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 120,032 ไร่
               เป็นส่วนหนึ่งของลุ่มน้ าหลักแม่น้ ามูล (05) ลุ่มน้ าสาขาล าโดมใหญ่ (0529) ครอบคลุมพื้นที่ 6 ต าบล ได้แก่

               ต าบลเมืองเดช ต าบลกลาง ต าบลโพนงาม ต าบลสมสะอาด ต าบลท่าโพธิ์ศรี และต าบลนาเจริญ
               อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อให้ได้ต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้าง

               พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า

                    การวิเคราะห์จากข้อมูลทุติยภูมิเบื้องต้นทั้งรูปแบบรายงานและแผนที่ ประกอบด้วย ข้อมูลดินและ
               สถานภาพทรัพยากรดินมีปัญหามีความอุดมสมบูรณ์ต่ าของดินเป็นปัญหาหลัก หรือร้อยละ 50 ของเนื้อที่

               ลุ่มน้ า รองลองมาคือดินตื้นและดินทรายจัด หรือร้อยละ 30 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ทั้งนี้ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิด
               การชะล้างพังทลายของดิน พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับปานกลาง และรุนแรง

               โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน 2-15 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมเนื้อที่ที่หรือร้อยละรวมทั้งหมด 6.08 ของ

               เนื้อที่ลุ่มน้ า แบ่งเป็นระดับปานกลาง และระดับรุนแรง มีเนื้อที่ร้อยละ 4.10 และ 1.98 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า
               ตามล าดับ โดยพบกระจายตัวอยู่ในต าบลท่าโพธิ์ศรี ต าบลเมืองเดช และต าบลโพนงาม ฝั่งทิศตะวันออก

               ของเนื้อที่ลุ่มน้ า  ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชัน 2-12 เปอร์เซ็นต์ มีลักษณะค่อนข้างราบเรียบ

               ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย และลูกคลื่นลอนลาดบางส่วน เมื่อพิจารณาประเภทการใช้ที่ดินเป็นป่าไม้ผลัดใบ
               สมบูรณ์ และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินปลูกมันส าปะหลัง ยางพารา มะม่วงหิมพานต์ และพืชสวน ทั้งนี้พื้นที่

               ส่วนใหญ่ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ห้วยต าแยมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับน้อย โดยมีปริมาณการ
               สูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมเนื้อที่หรือร้อยละ 78.82 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พบกระจายตัวทุก

               ต าบลของลุ่มน้ าห้วยต าแย ได้แก่ ต าบลกลาง ต าบลท่าโพธิ์ศรี ต าบลเมืองเดช ต าบลโพนงาม ต าบลสม

               สะอาด และต าบลนาเจริญ อ าเภอเดชอุดม
                    ปัญหาการชะล้างพังทลายควรได้การป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อการผลิตและผลผลิตของ

               เกษตรกร อีกทั้งลดต้นทุนการผลิตที่สูญหายไปกับการชะล้างของผิวหน้าดินที่อาจเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
               ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันน้ าไหลบ่าและเก็บกักตะกอนดิน การไถพรวนตามแนวระดับ

               ไม่ควรไถพรวนมากเกินความจ าเป็น การท าคันดินร่วมกับการปลูกพืชคลุมดินบนคันดิน คันดินเบนน้ า คัน

               ดิน เก็บกักน้ า คันดินฐานกว้าง คันดินฐานแคบ การปลูกพืชคลุมดินบนคันดิน และทางล าเลียงในไร่นา
               ส่วนในพื้นที่ลอนลาดซึ่งมีความลาดเทเพิ่มขึ้นจ าเป็นต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เข้มข้น เช่น

               ขั้นบันไดดินท าคันดินร่วมกับการปลูกพืชคลุมดิน คันดินเบนน้ า คันดินฐานกว้าง คันดินฐานแคบ การยก

               ร่องตามแนวระดับ การท าร่องน้ าตามแนวระดับ ทางระบายน้ า คันชะลอความเร็วของน้ า บ่อดักตะกอน
               ท่อลอดใต้ถนน ท่อระบายน้ า และทางล าเลียงในไร่นา เป็นต้น

                    การใช้ที่ดินในปัจจุบันพื้นที่ที่มีความเสี่ยงการชะล้างพังทลายของดินสูงคือพื้นที่เพาะปลูกมัน

               ส าปะหลังจะเห็นร่องการกัดเซาะพังทลายของดินได้อย่างชัดเจนเนื่องจากขาดวัสดุคลุมดินขาดการอนุรักษ์
   1   2   3   4   5   6   7   8   9