Page 176 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 176

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             131



                   ข้อจ ากัด            เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ าใน

                                        ฤดูเพาะปลูก


                   6) ชุดดินมหาสารคามที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน มีความลาดชัย 2-5 % (Msk-lsB)

                   การจ าแนกดิน (USDA)  Loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Oxyaquic Haplustalfs
                   สภาพพื้นที่          ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 %

                   ภูมิสัณฐาน           พื้นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain)
                   วัตถุต้นก าเนิดดิน   เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะ

                                        มาทับถมอยู่บริเวณพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน

                   การระบายน้ า         ดีปานกลาง
                   การซึมผ่านได้ของน้ า   เร็ว

                   การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน  ปานกลางถึงเร็ว
                   ลักษณะสมบัติของดิน  เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินทราย สีน้ าตาล สีน้ าตาลปนเทาหรือสี

                                        น้ าตาลปนเหลือง และมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย

                                        ระหว่างความลึก 50–100 ซม. ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง
                                        (pH 5.0-6.0) ในดินบน และเป็นกรดจัดมากถึงกรดเล็กน้อย (pH 4.5-6.5) ใน

                                        ดินล่าง

                   ข้อจ ากัด            เป็นดินทรายจัดในช่วงดินตอนบน ความอุดมสมบูรณ์ต่ า พืชมักแสดงอาการขาด
                                        น้ าอย่างเห็นได้ชัดเจนในช่วงฝนแล้ง และเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลาย

                                        ของหน้าดิน

                   7) ชุดดินโนนแดงที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 0-2 % (Ndg-slA)


                   การจ าแนกดิน (USDA)  Coarse-loamy, siliceous, isohyperthermic Aquic (Aquic kandic)
                                        Haplustalfs

                   สภาพพื้นที่          ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %
                   ภูมิสัณฐาน           พื้นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain)

                   วัตถุต้นก าเนิดดิน   เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะ

                                        มาทับถมอยู่บริเวณพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน
                   การระบายน้ า         ดีปานกลางถึงค่อนข้างเลว

                   การซึมผ่านได้ของน้ า   ปานกลาง
                   การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน  ปานกลาง

                   ลักษณะสมบัติของดิน  เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายสีเทา สีน้ าตาลปนเทาดินล่าง

                                        เป็นดินร่วนปนทรายและดินร่วนเหนียวปนทรายในตอนล่างลึกๆ พบจุดประสี
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181