Page 173 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 173

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                         128






                    ชุดดิน (soil series) หมายถึง หน่วยจ าแนกดินระดับต่ าสุดของการจ าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธาน
               โดยถือลักษณะทางสัณฐานของดินเป็นหลัก เช่น ความหนาของชั้นดิน การจัดเรียงของชั้นดิน โครงสร้าง

               ดิน สีดินเนื้อดิน ปฏิกิริยาดิน การยึดตัว ปริมาณคาร์บอเนตและเกลือชนิดต่าง ๆ ฮิวมัส เศษหิน

               องค์ประกอบของแร่ในดินวัตถุต้นก าเนิดดิน เป็นต้น
                    ดินคล้าย (soil variants) หมายถึง หน่วยจ าแนกดินระดับเดียวกันกับชุดดินที่เคยก าหนดไว้แล้วซึ่ง

               ดินนี้มีลักษณะเด่นชัดพอที่จะก าหนดเป็นชุดดินใหม่ได้ตามระบบการจ าแนกดิน แต่เนื้อที่ที่พบดินดังกล่าว
               จากการส ารวจยังมีเนื้อที่น้อยกว่า 20 ตารางกิโลเมตร จึงไม่สามารถก าหนดเป็นชุดดินใหม่ได้แต่เพื่อ

               สะดวกในการจดจ าจึงเอาชื่อชุดดินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก าหนด โดยระบุลักษณะที่แตกต่างจากชุด
               ดินนั้น เช่น ดินโพนพิสัยที่มีจุดประสีเทา เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มี

               คันนา (Pp-gm-slA/b) เป็นต้น

                    หน่วยดินเชิงซ้อน เป็นหน่วยแผนที่ที่ภายในขอบเขตนั้นๆ มีดินตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป พิจารณา
               เช่นเดียวกับหน่วยดินสัมพันธ์ แม้ว่ามาตราส่วนของแผนที่จะใหญ่ขึ้น (1:24,000 หรือมาตราส่วนใหญ่กว่า)ก็ยัง

               ไม่สามารถแยกขอบเขตของดินเหล่านั้นออกจากกันได้ อาจเนื่องจากความซับซ้อนของสภาพพื้นที่ การให้

               ชื่อหน่วยแผนที่ โดยดินที่มีเนื้อที่มากจะเขียนน าหน้า และเรียงกันไปตามล าดับ เช่น หน่วยดินเชิงซ้อนชุด
               ดินโนนแดง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย และดินโพนพิสัยที่มีจุดประสีเทา มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปน

               ทราย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ (Nad-Pp-gm-slB) เป็นต้น

               1) ชุดดินชุมพลบุรีที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 0-2 % (Chp-slA)


               การจ าแนกดิน (USDA)  Coarse-loamy, mixed, isohyperthermic Fluventic (Oxyaquic) Dystrustepts
               สภาพพื้นที่           ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %

               ภูมิสัณฐาน            สันดินริมน้ าบริเวณที่ราบตะกอนน้ าพา

               วัตถุต้นก าเนิด       ตะกอนน้ าพา
               การระบายน้ า           ดีปานกลางถึงดี

               การซึมผ่านได้ของน้ า   ปานกลาง
               การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน  ปานกลาง

               ลักษณะสมบัติของดิน  เป็นดินลึกถึงลึกมาก เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนปนทรายแป้ง

                                     ขึ้นอยู่กับชนิดของตะกอนที่น้ าจะพามาทับถมในแต่ละปี โดยแต่ละชั้นเนื้อดิน
                                     และสีจะแตกต่างกันเห็นได้ชัดเจน มีสีน้ าตาล น้ าตาลเข้มหรือน้ าตาลซีด จะพบ

                                     จุดประสีน้ าตาลแก่ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 5.0-5.5) ในดิน
                                     บน และเป็นกรดจัดมากถึงกรดเล็กน้อย (pH 4.5-6.5) ในดินล่าง

               ข้อจ ากัด             ความอุดมสมบูรณ์ต่ า พื้ชที่ปลูกอาจจะได้รับความเสียหายจากน้ าท่วมในฤดูน้ า

                                     หลาก
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178