Page 22 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              6



                       2) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าที่มีการก าหนดมาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟู

                   ทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของชุมชน
                       3) ต้นแบบการบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย

                   ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า






                       1) กรมพัฒนาที่ดินมีต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการจัดการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู
                   พื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ปี 2562 ส าหรับน าไปขยายผลในพื้นที่อื่น

                       2) มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าที่ก าหนดมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และ
                   สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงสถานภาพทรัพยากรดินได้ตามตัวชี้วัดที่ก าหนด





                       1) กรมพัฒนาที่ดินสามารถขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าให้บรรลุเป้าหมาย

                   ตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ และแผนบริหารจัดการน้ าของประเทศ
                       2) พื้นที่เกษตรกรรมมีแผนการจัดการการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย

                   ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ท าให้เกษตรกรสามารถใช้ที่ดินได้อย่างเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพื้นที่






                       1) เชิงปริมาณ
                          - ร้อยละความส าเร็จในการจัดท าฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินส าหรับเป็นข้อมูล

                   พื้นฐานประกอบการจัดท าแผนการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ า (ร้อยละ 100)

                          - จ านวนพื้นที่ที่มีการก าหนดแนวทางด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหา
                   ของพื้นที่ (ไม่น้อยกว่า 200,000 ไร่/ลุ่มน้ า) และจ านวนพื้นที่เป้าหมายตามแผนปฏิบัติการ (ไม่น้อยกว่า

                   10,000 ไร่/ปี)

                       2) เชิงคุณภาพ
                          - ฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินมีความถูกต้อง ครบถ้วน สอดคล้องกับสภาพปัญหา

                   ของพื้นที่
                          - มาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินมีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพพื้นที่

                   และสามารถน าไปก าหนดแผนงานโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27