Page 44 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          26


                              2) ปรับปรุงแก้ไข (ร่าง) รายงานแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

               และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ก่อนน าเสนอต่อคณะท างานจัดท าแผนบริหาร
               จัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า

               พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยจอด และคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ






                     การก าหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อด าเนินกิจกรรม (implement) ประกอบการจัดท าแผนปฏิบัติการให้
               สอดคล้องกับสภาพปัญหาพื้นที่และความต้องการของชุมชนด้วยการวิเคราะห์ล าดับความส าคัญเป็นการ

               ก าหนดพื้นที่น าร่องโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ
               อนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด จากขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้ าย่อยจ านวน 95,844 ไร่เมื่อผ่าน

               กระบวนการวิเคราะห์จากข้อมูลทุติยภูมิเบื้องต้นทั้งรูปแบบรายงานและแผนที่ ประกอบด้วย ข้อมูลดิน
               และสภาพดินปัญหา การชะล้างพังทลายของดิน การใช้ที่ดิน และแผนการใช้ที่ดิน จากข้อมูลหน่วยงานที่

               เกี่ยวข้อง และการส ารวจข้อมูลจากสภาพพื้นที่ด าเนินการจริงในปัจจุบัน และการรับฟังความคิดเห็นต่อ

               แนวทางการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
               จะท าให้ได้เกณฑ์ (criteria) ส าหรับน ามาใช้ในการก าหนดพื้นที่เป้าหมายและก าหนดแผนงาน/โครงการ

               สนับสนุนการด าเนินงานโครงการได้ เช่น ระดับความรุนแรงของพื้นที่ชะล้างพังทลายของดิน

               (soil erosion) พื้นที่ถือครอง แหล่งน้ า สถานการณ์ภัยแล้งและน้ าท่วม ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
               การใช้ที่ดิน และการมีส่วนร่วมหรือการยอมรับของชุมชน

                     ในการคัดเลือกพื้นที่ด าเนินการปัจจัยหลักที่น ามาพิจารณา 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ระดับความ

               รุนแรงของการชะล้าง 2) เอกสารสิทธิ์ 3) การใช้ที่ดิน 4) กิจกรรมที่ด าเนินงานในพื้นที่ 5) แผนปฏิบัติงาน
               ของพื้นที่ 6) ความต้องการของชุมชน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

                    1) ระดับความรุนแรงของการชะล้าง
                           น้อย (1-2 ตัน / ไร่ / ปี)   =  2  คะแนน

                           น้อยมาก (0-1 ตัน / ไร่ / ปี)= 1  คะแนน

                    2) การถือครองที่ดิน
                           มีเอกสารสิทธิ์        =  2  คะแนน

                           ไม่มีเอกสารสิทธิ์       =  1  คะแนน
                    3) การใช้ที่ดิน

                           พืชหลัก (พืชไร่)        =  3  คะแนน

                           นาข้าว(พืชรอง)        =  2  คะแนน
                           ไม้ผล/ไม้ยืนต้น (พืชรอง)  =  1  คะแนน

                    4) กิจกรรมที่ด าเนินงานในพื้นที่

                           ไม่เคยมี             =  2  คะแนน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49