Page 43 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 43
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
2) ประเด็นการรับฟังความคิดเห็น
ก าหนดรูปแบบการสัมภาษณ์หรือสนทนาเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก (In–depthInterview) โดย
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ตามลักษณะของปัญหาในแต่ละต าบล โดยมีประเด็นการรับฟังความคิดเห็น คือ
ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน สภาพปัญหาของพื้นที่ การจัดการด้วยระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ า แนวทางการแก้ไขปัญหา (ภูมิปัญญา และตามหลักวิชาการ) และการก าหนดเป้าหมาย
ในการด าเนินงาน (ภาพที่ 2-2)
ความรู้ความเข้าใจ
ต่อการชะล้าง
พังทลายของดิน
การจัดการ
สภาพปัญหา ลุ่มน้้าห้วยศาลจอด ด้วยระบบอนุรักษ์ดิน
ของพื้นที่ อ.สว่างแดนดิน และน้้า
จ. สกลนคร
แนวทางแก้ไข/
ภูมิปัญญา + วิชาการ พื้นที่น้าร่อง
ภาพที่ 2-2 ประเด็นการรับฟังความคิดเห็นของชุมชนแบบมีส่วนร่วม
1) จัดท า (ร่าง) รายงานแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู
พื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงาน
ภาครัฐ ประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อการจัดท าแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ
ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ าพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด อ าเภอสว่างแดนดิน
จังหวัดสกลนคร โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ องค์กำรบริหำรส่วนต้ำบล (อบต.) ผู้น้ำชุมชนหมอดินอำสำ
และเกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดิน ในช่วงวันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563
โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัด ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ และองค์การบริหารส่วนต าบล