Page 66 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 66

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          52


               ตารางที่ 3-4  ข้อมูลที่ดินของรัฐด้านทรัพยากรป่าไม้ (ต่อ)

                หน่วยงาน และข้อมูลประเภทที่ดิน                      สถานะทางกฎหมาย

                4. กรมพัฒนาที่ดินป่าไม้ถาวร         มติคณะรัฐมนตรี

                5. ส านักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อ
                เกษตรกรรมเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.)   แผนที่แนบท้าย พระราชกฤษฎีกา

                                                    (พระราชบัญญัติการปฏิรปูที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม

                                                    พ.ศ.2518)
                6. คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ

                (คทช.) แปลงที่ดินท ากินตามนโยบาย    มติคณะรัฐมนตรี

                ที่ดินแห่งชาติ (คทช.)


                     เมื่อจ าแนกพื้นที่ป่าไม้ตามข้อก าหนดการใช้ที่ดินประเภทและวัตถุประสงค์ของการประกาศเขตป่า
               ไม้ตามกฎหมาย (แนวเขตป่าไม้และที่ดินของรัฐประเภทอื่นไม่ชัดเจนและมีการทับซ้อนกัน) พบว่าในพื้นที่

               ลุ่มน้ าห้วยท่าแค ไม่พบพื้นที่

                     1. พื้นที่เขตป่าอนุรักษ์
                        ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค ไม่พบพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์

                     2. พื้นที่เขตป่าสงวนแห่งชาติ
                        การจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามมติ

               คณะรัฐมนตรี วันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 ได้ให้ความเห็นชอบตามมติของคณะกรรมการนโยบาย

               ป่าไม้แห่งชาติ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องการจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดิน
               ป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งได้จ าแนกเขตป่าสงวนแห่งชาติ ออกเป็น 3 เขต ดังนี้ เขตพื้นที่ป่าเพื่อการ

               อนุรักษ์ (โซน C) เขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) และเขตพื้นที่ป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A)
               เมื่อจ าแนกป่าตามเขตป่าสงวนแห่งชาติ ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแคไม่พบพื้นที่ดังกล่าว

                     3. พื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี

                        ตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า เพื่อให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากร
               ที่เหมาะสมจึงได้แบ่งพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ าออกเป็น 6 ชั้น คือ พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1A พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1B พื้นที่

               ลุ่มน้ าชั้น 2 พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4 และพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 จากข้อก าหนดการใช้ประโยชน์และ

               การจัดการพื้นที่ชั้นลุ่มน้ าคุณภาพต่าง ๆ สรุปสาระส าคัญได้ คือ การใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 และ
               พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2 ซึ่งเป็นพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญที่ต้องสงวนรักษาไว้เป็นแหล่งต้นน้ าลาธารและ

               เป็นพื้นที่ป่าไม้ของประเทศ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการ
               เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ไม่ควรจะเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อใช้ทาการเกษตร ส าหรับการใช้

               ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 4 และพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 นั้น ให้ใช้ท าการเกษตรได้แต่ต้องมีมาตรการตามข้อ

               ก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ า ได้แก่ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า และการป้องกันการชะล้าง
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71