Page 61 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             47








                              ลุ่มน้ าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ในลุ่มน้ าหลักแม่น้ ามูล (05) ลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกร

                   (0506) ลักษณะวางตัวตามแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก มีล าน้ าส าคัญได้แก่ ห้วยด่าน ห้วยสวาย

                   ห้วยสันเทียะ ที่ไหลลงห้วยท่าแคบริเวณต าบลโนนไทย และห้วยท่าแคไหลลงล าเชิงไกรบริเวณเขตระหว่าง
                   ต าบลจันอัดและเมืองปราสาท อ าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา นอกจากนี้ยังมีหนองน้ า บึงธรรมชาติ

                   เช่น หนองจิก หนองท านบ บึงปากปลาคาบ โดยมีเนื้อที่ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแคประมาณ 1,302 ไร่ และ
                   ยังมีแหล่งน้ าที่สร้างขึ้นได้แก่ อ่างเก็บน้ าบ้านโนนตากลาง สระน้ าบ้านดอนเท้า สระน้ าบ้านด่านจาก

                   อ่างเก็บน้ าบ้านพูลถวาย สระน้ านาหว้า สระน้ าบ้านไร่ สระจระเข้ เป็นต้น มีเนื้อที่ประมาณ 1,196 ไร่

                   มีพื้นที่แหล่งน้ ารวมในโครงการประมาณร้อยละ 2.33




                              พื้นที่ของอ าเภอโนนไทยและพระทองค าเกือบทั้งหมดรองรับด้วยหินแข็ง ประกอบด้วย

                   หินดินดาน หินทราย หินทรายแป้ง และหินโคลนของหมวดหินมหาสารคาม มีชั้นของเกลือหินวางตัวอยู่

                   ด้านล่าง ท าให้บาดาลเกือบทั้งหมดของอ าเภอนี้มีคุณภาพน้ ากร่อยและเค็ม ยกเว้นพื้นที่เนินทางทิศเหนือของ
                   อ าเภอพระทองค า จะมีคุณภาพน้ าจืด น้ าบาดาลพบกักเก็บในโครงสร้างที่เป็นรอยแตกของหิน ปริมาณน้ า

                   2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ความลึกของชั้นน้ าบาดาลเฉลี่ย 15-30 เมตร บางแห่งลึก 30-40 เมตร และ

                   มีระดับน้ าบาดาล 3-8 เมตร บางแห่งอยู่ที่ 8-15 เมตร คุณภาพน้ าบาดาล พื้นที่ 90% ของอ าเภอ คุณภาพ
                   น้ ากร่อยและเค็ม มีความกระด้างสูง ยกเว้นบางบริเวณของต าบลสระพระและต าบลทัพรั้ง ของอ าเภอพระ

                   ทองค า ส าหรับปริมาณเหล็กโดยทั่วไปมีค่าสูงเกินเกณฑ์อณุโลม (โครงการส ารวจและจัดท าแผนที่น้ า
                   บาดาลในชั้นหินปูน พื้นที่ 2 จังหวัดนครราชสีมา กรมทรัพยากรน้ าบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

                   และสิ่งแวดลอม)




                              - แหล่งน้ าที่มีอยู่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากมีขนาดเล็กและตื้นเขิน

                   ขาดระบบส่งน้ าและเครื่องสูบน้ า ตลอดจนการบริหารจัดการที่ดี

                              - ขาดแคลนน้ าเพื่อการอุปโภคบริโภค ตลอดจนแหล่งน้ าเพื่อการเกษตรโดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง
                              - การพัฒนาพื้นที่แหล่งน้ าที่มีอยู่ ไม่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ

                   มีศักยภาพในการเก็บและการระบายน้ า
                              - ปัญหาน้ าท่วมฉับพลันที่เกิดขึ้นในบางชุมชน เนื่องจากไม่มีแหล่งเก็บกักน้ าและชะลอการ

                   ไหลของน้ า อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ที่เป็นทางผ่านของน้ าอีกด้วย

                              แนวโน้มในอนาคตสถานการณ์ปัญหาของแหล่งน้ า เช่น ปัญหาการขาดแคลนน้ าใช้ในช่วง
                   ฤดูแล้ง ปัญหาน้ าท่วมในช่วงฤดูฝนที่เกิดขึ้นในบางพื้นที่ ปัญหาการพัฒนาพื้นที่แหล่งน้ า และปัญหา
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66