Page 40 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง จังหวัดน่าน
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          24



                  1) ระดับความรุนแรงของการชะล้าง

                            สูง                                               = 3  คะแนน
                            ปานกลาง                                           = 2  คะแนน

                            ต่ำ                                               = 1  คะแนน

                  2) การถือครองที่ดิน
                            มีเอกสารสิทธิ์                                    = 2  คะแนน

                            ไม่มีเอกสารสิทธิ์                                 = 1  คะแนน
                  3) การใช้ที่ดิน

                            พืชหลัก (พืชไร่)                                  = 3  คะแนน

                            นาข้าว (พืชรอง)                                   = 2  คะแนน
                            ไม้ผล/ไม้ยืนต้น (พืชรอง)                          = 1  คะแนน

                  4) กิจกรรมที่ดำเนินงานในพื้นที่
                            ไม่เคยมี                                          = 2  คะแนน

                            เคยมี                                             = 1  คะแนน

                  5) แผนการดำเนินงานในพื้นที่ ปี 2563
                            แหล่งน้ำ ปรับปรุงดิน ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ        =  3 คะแนน

                            แหล่งน้ำและปรับปรุงดิน                            =  2 คะแนน

                            แหล่งน้ำหรือปรับปรุงดิน                           =  1 คะแนน
                  6) ความต้องการของชุมชน

                            ต้องการแหล่งน้ำและระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ           =  3 คะแนน
                            ต้องการแหล่งน้ำหรือระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ          =  2 คะแนน

                            ต้องการงานด้านอื่น ๆ                              =  1 คะแนน









                     แผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง

               ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2566) และระยะ 1 ปี เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะ
               ล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ให้สามารถนำไปสู่การ

               วางแผน การกำหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย

               ของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม นำไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน รวมทั้ง
               สามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับ

               ประเด็นปัญหาและบูรณาการการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มี

               ส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง



                   แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ลุ่มน ้าห้วยน ้าแหง
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45