Page 65 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             43



                   เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ไม่ควรจะเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อใช้ท าการเกษตร ส าหรับการใช้

                   ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4 และพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 นั้น ให้ใช้ท าการเกษตรได้แต่ต้องมี
                   มาตรการตามข้อก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ า ได้แก่ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า และการ

                   ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เป็นต้น ดังนั้นข้อก าหนดต่างๆ จึงมีมาตรการที่เข้มงวดแตกต่างกัน เพื่อ

                   ป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน และให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืนต่อไปพื้นที่โครงการฯ
                   รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3-8 ประกอบด้วย ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า ดังนี้

                                 1) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1A เป็นพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 ซึ่งมีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ก่อนปี 2525 โดย
                   พื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไว้เป็นป่าต้นน้ าล าธาร (ห้ามมีการใช้ประโยชน์อย่างอื่น) มีเนื้อที่ประมาณ 6,789 ไร่

                   หรือร้อยละ 8.00 ของเนื้อที่ทั้งหมด

                                 2) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2 เป็นพื้นที่มีความลาดชันค่อนข้างสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมต่อการ
                   เป็นป่าต้นน้ าล าธาร และสามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อกิจการที่ส าคัญ เช่น การท าเหมืองแร่

                   สวนยางพารา หรือพืชที่มีความมั่นคงต่อเศรษฐกิจ มีเนื้อที่ประมาณ 11,619 ไร่ หรือร้อยละ 13.69 ของ
                   เนื้อที่ทั้งหมด

                                 3) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 เป็นพื้นที่มีความลาดเทสูง สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจกรรม

                   ท าไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรได้โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึกควรปลูกไม้ผล หรือไม้
                   ยืนต้น แต่ถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินตื้นควรปลูกป่าและทุ่งหญ้า มีเนื้อที่ประมาณ 20,910 ไร่ หรือร้อยละ

                   24.63 ของเนื้อที่ทั้งหมด

                                 4) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4 เป็นพื้นที่มีความลาดชันต่ า และป่าถูกบุกรุกเป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์
                   เพื่อกิจการท าไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรได้ โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึก และมี

                   ความลาดชันมากควรปลูกไม้ผล แต่ถ้าเป็นบริเวณที่มีความลาดชันน้อยจะใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกพืชไร่
                   ได้ มีเนื้อที่ประมาณ 24,935 ไร่ หรือร้อยละ 29.37 ของเนื้อที่ทั้งหมด

                                 5) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ประมาณ 20,637 ไร่ หรือร้อยละ 24.31

                   ของเนื้อที่ทั้งหมด

                   ตารางที่ 3-8  พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ าในพื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่ง อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด

                                                                                     เนื้อที่
                                      ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า
                                                                              ไร่            ร้อยละ
                       พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1A                                6,789              8.00

                       พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2                                11,619            13.69
                       พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3                                20,910            24.63

                       พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4                                24,935            29.37
                       พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5                                20,637            24.31

                                        รวมเนื้อที่                         84,890           100.00
                   ที่มา: ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2555)
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70