Page 62 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 62

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          40





                           จากการศึกษาสภาพพื้นที่ของลุ่มน้ าคลองแอ่ง มีพื้นที่รับน้ าเท่ากับ 135.82 ตารางกิโลเมตร

               (84,890ไร่) โดยภายในลุ่มน้ าจะมีล าน้ า ล าห้วยไหลลงสู่ล าน้ าสายหลัก จึงสามารถแบ่งพื้นที่ภายในเป็นลุ่ม
               น้ าย่อยได้อีก


                           1) ปริมาณน้ าท่า โดยวิธี Resional Runoff equation
                              จากการค านวณปริมาณน้ าท่า ด้วยวิธี Resional Runoff equation ซึ่งอาศัยความสัมพันธ์
               แบบถดถอย (regression) ระหว่างปริมาณน้ านองสูงสุดเฉลี่ยและพื้นที่รับน้ าฝน ซึ่งจากข้อมูลพื้นที่

               ลุ่มน้ าคลองแอ่ง มีพื้นที่รับน้ าฝนเท่ากับ 135.82 ตารางกิโลเมตร สามารถค านวณปริมาณน้ าท่าได้จากสมการ


                                            Q   = 2.101748A    0.974130
                                              m
                       เมื่อ Q  =     ปริมาณน้ าท่ารายปี (ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี)
                            m
                             A   =     พื้นที่รับน้ าฝน (ตร.กม.)
                           *ค่าคงที่ในสมการ อ้างอิงจากรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการอ่างเก็บน้ า

               ห้วยสะตอ จังหวัดตราด พ.ศ.2562
                           สามารถวิเคราะห์ปริมาณน้ าเฉลี่ยรายปีและพื้นที่รับน้ าที่ได้จากสมการ เท่ากับ 251.40 ล้าน

               ลูกบาศก์เมตร






                     พื้นที่ป่าไม้ในเขตป่าตามกฎหมาย วิเคราะห์จากการซ้อนทับข้อมูลพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (เขตรักษาพันธุ์
               สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน) พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (เขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้

               ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ) พื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า ป่าไม้

               ถาวรนอกเขตป่า เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) และสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่โครงการ พบว่า
               มีสถานภาพของทรัพยากรป่าไม้ ดังตารางที่ 3-5


               ตารางที่ 3-5 สถานภาพทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่ง อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด

                                                                                 เนื้อที่
                             สถานภาพทรัพยากรป่าไม้
                                                                       ไร่              ร้อยละ
                พื้นที่ในเขตป่าตามกฎหมาย                            30,353                  35.76

                   1) พื้นที่ป่าสมบูรณ์                             23,024                  27.12

                   2) พื้นที่ป่ารอสภาพฟื้นฟู                         1,914                   2.26
                   3) พื้นที่มีการใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรม          5,415                   6.38
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67