Page 86 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            68





                             3)    ไมยืนตน (A3) มีเนื้อที่ 30,248 ไร หรือรอยละ 1.07 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  ยางพารา ปาลมน้ํามัน ยูคาลิปตัส สัก ไมยืนตนอื่นๆ และไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม ดังนี้

                                   (1)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 13,557 ไร หรือรอยละ 0.48 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกอยูที่อําเภอลี้ รองลงมาคืออําเภอทุงหัวชาง และกระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ

                  ของจังหวัด

                                   (2)  ปาลมน้ํามัน (A303) มีเนื้อที่ 1,319 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกอยูที่อําเภอปาซาง รองลงมาคืออําเภอบานธิ และกระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ

                  ของจังหวัด
                                   (3)  ยูคาลิปตัส (A304) มีเนื้อที่ 4,003 ไร หรือรอยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด

                  สวนใหญปลูกอยูที่อําเภอเมืองลําพูน รองลงมาคืออําเภอเวียงหนองลอง อําเภอลี้ตามลําดับ และกระจาย
                  อยูทั่วไปในอําเภอตางๆของจังหวัด

                                   (4)  สัก (A305) มีเนื้อที่ 8,140 ไร หรือรอยละ 0.29 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญ

                  ปลูกอยูที่อําเภอลี้ รองลงมาคือ อําเภอเมืองลําพูน และกระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ ทั่วจังหวัด
                                   (5)  ไมยืนตนอื่น ๆ ไดแก ไมยืนตนผสม กระถิน หมอน ไผปลูกเพื่อการคา

                  จามจุรี ตะกู และไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 3,229 ไร หรือรอยละ 0.11 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ปลูกกระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัด
                             4)    ไมผล (A4) มีเนื้อที่ 525,571 ไร หรือรอยละ 18.66 ของเนื้อที่จังหวัด ไมผล

                  เศรษฐกิจหลักของจังหวัด ไดแก ลําไย รองลงมาคือ มะมวง และไมผลอื่น ๆ มีเนื้อที่ 525,274 ไร หรือ
                  รอยละ 18.65 ของเนื้อที่จังหวัด และไมผลราง/ไมผลเสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 297 ไร หรือรอยละ 0.01 ของ

                  เนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย
                                   (1)  มะมวง (A407) มีเนื้อที่ 79,935 ไร หรือรอยละ 2.84 ของเนื้อที่จังหวัด

                  สวนใหญปลูกอยูในอําเภอบานโฮง รองลงมาคืออําเภอลี้ และอําเภอปาซาง ตามลําดับ ปลูกกระจายอยู

                  ทั่วไปในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัด
                                   (2)  ลําไย (A413) เปนพืชเศรษฐกิจหลักที่สําคัญของจังหวัด มีเนื้อที่ 434,728 ไร

                  หรือรอยละ 15.44 ของเนื้อที่จังหวัด ปลูกมากอยูในอําเภอลี้ รองลงมาคืออําเภอเมืองลําพูน และอําเภอ

                  ปาซาง ตามลําดับและปลูกกระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัด
                                   (3)  ไมผลอื่น ๆ มีเนื้อที่ 10,611 ไร หรือรอยละ 0.37 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  ไมผลผสม สม ทุเรียน มะพราว มะมวงหิมพานต พุทรา กลวย มะขาม ฝรั่ง มะละกอ มะนาว สมโอ มะปราง
                  มะยงชิด เปนตน ปลูกกระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัด

                             5)    พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 9,267 ไร หรือรอยละ 0.32 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย
                  พืชผัก และพืชสวนอื่น ๆ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91