Page 85 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 85

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            67





                             6)    สิ่งปลูกสรางอื่น ๆ (U6)  มีเนื้อที่ 3,051 ไร หรือรอยละ 0.11 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวยพื้นที่ที่มีการกอสรางสิ่งปลูกสรางอื่นๆ นอกเหนือจาก U1-U5 และ U7 ที่มีขนาดใหญ และ

                  เห็นเดนชัดแยกจากตัวเมืองและยานการคา (U1) หรือหมูบาน (U2) ไดแก สถานที่ราง สถานที่พักผอน
                  หยอนใจ รีสอรท โรงแรม เกสตเฮาส สุสาน ปาชา สถานีบริการน้ํามัน เปนตน

                             7)    สนามกอลฟ (U7)  มีเนื้อที่ 4,866 ไร หรือรอยละ 0.17 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  สนามกอลฟกัซซัน พาโนรามา กอลฟคลับ สนามกอลฟกัซซัน ขุนตาล สนามกอลฟกัซซัน เลกาซี
                  กอลฟคลับ สนามกอลฟอาทิตยา เชียงใหม กอลฟแอนดรีสอรท ลําพูน และสนามกอลฟหริภุญชัย

                  กอลฟ คลับ
                        2.7.2   พื้นที่เกษตรกรรม (A)  มีเนื้อที่ 913,213 ไร หรือรอยละ 32.40 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย พื้นที่นา พืชไร ไมยืนตน ไมผล พืชสวน ไรหมุนเวียน ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือน
                  เลี้ยงสัตว สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําและเกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม

                             1)    พื้นที่นา (A1)   มีเนื้อที่ 162,143 ไร หรือรอยละ 5.74 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย นาราง มีเนื้อที่ 18,621 ไร หรือรอยละ 0.66 ของเนื้อที่จังหวัด นาขาว 114,371 ไร หรือ
                  รอยละ 4.06 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในพื้นที่อําเภอเมืองลําพูน รองลงมาคืออําเภอบานธิ และนาขาว

                  ที่มีพืชตาม ปลูกตอเนื่องหลังฤดูเก็บเกี่ยว มีเนื้อที่ 29,151 ไร หรือรอยละ 1.02 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  ขาวโพด มันสําปะหลัง ยาสูบ ถั่วเหลือง ถั่วลิสง มันฝรั่ง และพืชผัก พบมากในพื้นที่อําเภอลี้ รองลงมาคือ
                  อําเภอทุงหัวชาง และอําเภอแมทา

                             2)    พืชไร (A2) มีเนื้อที่ 179,582 ไร หรือรอยละ 6.38 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ขาวโพด
                  มันสําปะหลัง ขิง พืชไรอื่นๆ และไรราง

                                   (1)  ขาวโพด (A202) มีเนื้อที่ 152,208 ไร หรือรอยละ 5.40 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกอยูในอําเภอลี้ รองลงมาคืออําเภอทุงหัวชาง และกระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ

                  ของจังหวัด

                                   (2)  มันสําปะหลัง (A204) มีเนื้อที่ 15,224 ไร หรือรอยละ 0.54 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกอยูในอําเภอลี้ รองลงมาคืออําเภอทุงหัวชาง

                                   (3)  ขิง (A222) มีเนื้อที่ 1,144 ไร หรือรอยละ 0.04 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญ

                  ปลูกอยูที่อําเภอลี้ รองลงมาคืออําเภอทุงหัวชาง
                                   (4)  พืชไรอื่น ๆ ไดแก พืชไรผสม ออย สับปะรด ยาสูบ ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ละหุง

                  ขาวไร มันฝรั่ง มันแกว มะเขือเทศ และพริก มีเนื้อที่ 2,209 ไร หรือรอยละ 0.09 ของเนื้อที่จังหวัด
                  กระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัด

                                   (5)  ไรราง (A200) มีเนื้อที่ 8,797 ไร หรือรอยละ 0.31 ของเนื้อที่จังหวัด
                  กระจายอยูทั่วไปในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัด
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90