Page 215 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 215

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           184





                                   (2)  พืชไรอื่น ๆ ที่พบไดแก พืชไรราง ออย และแตงโม มีเนื้อที่ 130 48 และ

                  32 ไร หรือรอยละ 0.04 0.01 และ0.01 ของเนื้อที่จังหวัด ตามลําดับ
                             3)    ไมยืนตน (A3) มีเนื้อที่ 77,020 ไร หรือรอยละ 22.69 ของเนื้อที่จังหวัด ไมยืนตน
                  ที่สําคัญทางเศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ต ไดแก

                                   (1)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 68,719 ไร หรือรอยละ 20.25 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบปลูกอยูทุกอําเภอ โดยปลูกมากที่สุดที่อําเภอถลาง
                                   (2)  ปาลมน้ํามัน (A303) มีเนื้อที่ 3,913 ไร หรือรอยละ 1.15 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบปลูกอยูทุกอําเภอ โดยปลูกมากที่สุดที่อําเภอถลาง
                                   (3)  ไมยืนตนอื่น ๆ ที่พบไดแก ไมยืนตนราง/เสื่อมทรม ไมยืนตนผสม ยูคาลิปตัส

                  สะเดา สนประดิพัทธ หมอน ไผปลูกเพื่อการคา หมาก จามจุรี และกฤษณา มีเนื้อที่ 4,388 ไร หรือรอยละ
                  1.29 ของเนื้อที่จังหวัด
                             4)    ไมผล (A4)  มีเนื้อที่  11,219 ไร หรือรอยละ 3.31 ของเนื้อที่จังหวัด ไมผลที่สําคัญ

                  ไดแก
                                   (1)  มะพราว (A405)  มีเนื้อที่ 5,874 ไร หรือรอยละ1.73 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบปลูกอยูทุกอําเภอ โดยปลูกมากที่สุดที่อําเภอถลาง
                                   (2)  ไมผลผสม (A401) มีเนื้อที่ 3,883 ไร หรือรอยละ 1.14 ของเนื้อที่จังหวัด

                  พบปลูกอยูทุกอําเภอ โดยปลูกมากที่สุดที่อําเภอถลาง
                                   (3)  กลวย (A411) เนื้อที่ 634 ไร หรือรอยละ 0.19 ของเนื้อที่จังหวัด พบปลูก
                  อยูทุกอําเภอ โดยปลูกมากที่สุดที่อําเภอถลาง
                                   (4)  ไมผลอื่น ๆ ที่พบไดแก ไมผลราง/ไมผลเสื่อมโทรม ทุเรียน เงาะ มะมวง

                  หิมพานต มังคุด ลางสาด ลองกอง และมะนาว มีเนื้อที่ 828 ไร หรือรอยละ 0.25 ของเนื้อที่จังหวัด
                             5)    พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 778 ไร หรือรอยละ 0.23 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                                   (1)  พืชสวนราง/เสื่อมโทรม (A500) มีเนื้อที่ 76 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่
                  จังหวัด

                                   (2)  พืชผัก (A502) มีเนื้อที่ 507 ไร หรือรอยละ 0.15 ของเนื้อที่จังหวัด พบปลูกมาก
                  ที่อําเภอถลาง
                                   (3)  ไมดอก ไมประดับ (A503) 195  ไร หรือรอยละ 0.06  ของเนื้อที่จังหวัด

                  พบปลูกมากที่อําเภอถลาง
                             6)    ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7)  มีเนื้อที่ 735 ไร หรือรอยละ 0.22
                  ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ทุงหญาเลี้ยงสัตว โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก และ
                  โรงเรือนเลี้ยงสุกร
                                   (1)  ทุงหญาเลี้ยงสัตว (A701) มีเนื้อที่ 459 ไร หรือรอยละ 0.14 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พบที่อําเภอถลาง
                                   (2)  โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา (A702)  มีเนื้อที่ 35 ไร หรือรอยละ 0.01
                  ของเนื้อที่จังหวัด พบมากที่อําเภอถลาง
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220