Page 214 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 214

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           183





                                   (2)  สถานที่พักผอนหยอนใจ มีเนื้อที่ 3,110 ไร หรือรอยละ 0.92 ของเนื้อที่

                  จังหวัด เชน จุดชมวิวแหลมพรหมเทพ อนุสรณสถานถลางชนะศึก ปางชาง ภูเก็ตวอเตอรสกีเคเบิลเวย
                  ภูเก็ตแฟนตาซี ถลางมณีคราม@ฉลอง หางสรรพสินคา สวนสาธารณะ และรานอาหาร เปนตน
                                   (3)  โรงแรม รีสอรท เกสตเฮาส มีเนื้อที่ 9,689 ไร หรือรอยละ 2.86 ของเนื้อที่

                  จังหวัดเนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเปนเมืองทองเที่ยวจึงมีโรงแรมและรีสอรทจํานวนมาก เชน เอาทริกเกอร
                  ลากูนา ภูเก็ต รีสอรท แอนด วิลลา  โรงแรมฮิลตัน  ในทอน บุรี บีช รีสอรท  ภูเก็ต อารเคเดีย รีสอรท
                  แอนด สปา บานกระทิง ภูเก็ต รีสอรท และแหลมทรายการเดน รีสอรท เปนตน
                                   (4)  สุสาน ปาชา มีเนื้อที่ 214 ไร หรือรอยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด เชน สุสาน
                  บานไมขาว (สุสานมอแกน) กุโบรบานแหลมหิน กุโบรบานบอแร และสุสานกวางตุง เปนตน

                                   (5)  สถานีบริการน้ํามัน (U605) มีเนื้อที่ 147 ไร หรือรอยละ 0.04 ของเนื้อที่
                  จังหวัดเชน ปมน้ํามันปตท. ปมน้ํามันเชลล และปมน้ํามันเอสโซ เปนตน
                             7)    สนามกอลฟ (U701) มีเนื้อที่ 4,740 ไร หรือรอยละ 1.40  ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  แคนยอน คันทรี คลับ  เรด เมาท เทน กอลฟ คลับ ภูเก็ต และสนามกอลฟภูเก็ตคันทรีคลับ
                        2.20.2  พื้นที่เกษตรกรรม (A)  มีเนื้อที่  99,225 ไร หรือรอยละ 29.25 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ประกอบดวย  พื้นที่นา พืชไร ไมยืนตน ไมผล พืชสวน ทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว พืชน้ํา สถานที่
                  เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และเกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม

                             1)    พื้นที่นา (A1) มีเนื้อที่ 1,285 ไร หรือรอยละ 0.38 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                                   (1)  นาราง มีเนื้อที่ 1,198 ไร หรือรอยละ 0.35  ของเนื้อที่จังหวัด พบมากที่
                  อําเภอถลาง
                                   (2)  นาขาว มีเนื้อที่ 87 ไร หรือรอยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด พบที่บานไมขาว

                  อําเภอถลาง ชาวบานไมขาว ชุมชนชายทะเลตอนเหนือของเกาะภูเก็ต ยังคงรักษามรดกวัฒนธรรม วิถี
                  ชีวิตกึ่งชนบทภายใตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งพวกเขาอนุรักษวิถีชีวิตการทํานาเชนเดียวกับรุนปูยา
                  ตายาย
                             2)    พืชไร  (A2)  มีเนื้อที่ 2,727 ไร หรือรอยละ 0.80  ของเนื้อที่จังหวัด พืชไรที่สําคัญ

                  ไดแก
                                   (1)  สับปะรด (A205) มีเนื้อที่ 2,517 ไร หรือรอยละ  0.74  ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบปลูกมากที่อําเภอถลาง เปนสับปะรดพันธุภูเก็ต ซึ่งเปนพันธุเดียวกับสับปะรดสวี และสับปะรดภูแลที่

                  ปลูกทางภาคเหนือ และสับปะรดตราดสีทองที่ปลูกทางภาคตะวันออก ใบจะมีลักษณะแคบยาวรี สีเขียว
                  ออน มีแกนกลางใบสีแดง ขอบใบมีหนามสีแดง ลูกคอนขางเล็กเมื่อเทียบกับพันธุอื่น แตเมื่อนําไปลูกใน
                  พื้นที่ที่มีสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศตางกัน จึงทําใหไดผลผลิตมีขนาด รูปราง และรสชาด
                  แตกตางกัน ลักษณะประจําพันธุของสับปะรดชนิดนี้ จะมีผลขนาดเล็กประมาณ 1-2  กก. เนื้อแนนสี
                  เหลืองฉ่ํา เนื้อกรอบ มีกลิ่นหอม เปลือกมีสีเหลืองสม รสชาดหวานจัด ถือวาเปนอัตตลักษณของจังหวัด

                  ภูเก็ตและทางจังหวัดไดขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) โดยสวนใหญเกษตรกรจะปลูกสับปะรดมี
                  ทั้งปลูกแบบพืชชนิดเดียวและปลูกแซมในสวนยางพาราในชวงยางอายุ 3 ปแรก นอกจากนี้ยังมีการปลูก
                  แซมในสวนปาลมน้ํามันที่ปลูกระยะแรก และสวนมะพราวแตไมมากนัก
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219