Page 197 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 197

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           169





                             5)    พืชสวน (A5)     มีเนื้อที่ 133 ไร ไดแก พืชผัก พบวามีพื้นที่ปลูกอยูที่อําเภอ

                  หาดสําราญ อําเภอปะเหลียน อําเภอเมืองตรัง และอําเภอนาโยง
                             6)    ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7)  มีเนื้อที่ 495 ไร หรือรอยละ 0.02
                  ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ทุงหญาเลี้ยงสัตว มีเนื้อที่ 30 ไร โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก มีเนื้อที่ 161 ไร หรือรอยละ

                  0.01 และโรงเรือนเลี้ยงสุกร มีเนื้อที่ 304 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญพบที่อําเภอ
                  ยานตาขาว และอําเภอปะเหลียน
                             7)    สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (A9)    มีเนื้อที่ 30,770 ไร หรือรอยละ 1.01 ของเนื้อที่
                  จังหวัด ประกอบดวย สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง สถานที่เพาะเลี้ยงปลา สถานที่เพาะเลี้ยงกุง
                                   (1)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวราง (A900)  มีเนื้อที่ 2,087 ไร หรือรอยละ 0.07

                  ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่สวนใหญพบมากที่อําเภอกันตัง รองลงมาพบที่อําเภอหาดสําราญ และ
                  อําเภอปะเหลียน
                                   (2)  สถานที่เพาะเลี้ยงปลา (A902) มีเนื้อที่ 180 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พื้นที่เพาะเลี้ยงพบมากที่อําเภอเมืองตรัง รองลงมาพบที่อําเภอสิเกา และอําเภอรัษฎา
                                   (3)  สถานที่เพาะเลี้ยงกุง (A903)  มีเนื้อที่ 28,503 ไร หรือรอยละ 0.93 ของเนื้อที่
                  จังหวัด พื้นที่เพาะเลี้ยงพบมากที่อําเภอกันตัง รองลงมาพบที่อําเภอปะเหลียน อําเภอหาดสําราญ
                  อําเภอสิเกา และอําเภอยานตาขาว

                        2.18.3  พื้นที่ปาไม (F) มีเนื้อที่ 784,999 ไร หรือรอยละ 25.54 ของเนื้อที่จังหวัด เปนปาไมผลัดใบ
                  รอสภาพฟนฟู ปาไมผลัดใบสมบูรณ ปาชายเลนรอสภาพฟนฟู ปาชายเลนสมบูรณ  ปาปลูกรอสภาพ
                  ฟนฟู และปาปลูกสมบูรณ
                             1)    ปาไมผลัดใบ (F1)  มีเนื้อที่รวม 536,171 ไร หรือรอยละ 17.44 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ไดแก ปาไมผลัดใบสมบูรณมีเนื้อที่ 515,032 ไร หรือรอยละ 16.76 ของเนื้อที่จังหวัด พบวาปาสวนใหญ
                  มีการกระจายตัวมากสุดบริเวณทิศตะวันออก รองลงมาทิศใตและทิศตะวันตก และบริเวณเขตติดตอของ
                  จังหวัด ปาที่พบสวนใหญอยูในเขตอุทยานแหงชาติ และพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา เปนปาดิบชื้นบริเวณ
                  เทือกเขาบรรทัดดานทิศตะวันออก บริเวณเขตติดตอของจังหวัด พบมากสุดที่อําเภอปะเหลียน รองลงมา

                  พบที่อําเภอหวยยอด อําเภอยานตาขาว อําเภอนาโยง และอําเภอกันตัง และปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู
                  มีเนื้อที่ 21,139 ไร หรือรอยละ 0.69 พบมากสุดที่อําเภอวังวิเศษ รองลงมาพบที่อําเภอสิเกา และอําเภอ
                  กันตัง

                             2)    ปาชายเลน (F2)  มีเนื้อที่รวม 247,999 ไร หรือรอยละ 8.07 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ไดแก ปาชายเลนสมบูรณ 234,803 ไร หรือรอยละ 7.64 ของเนื้อที่จังหวัด และปาชายเลนรอสภาพ
                  ฟนฟู 13,196 ไร หรือรอยละ 0.43 ของเนื้อที่จังหวัด ปาชายเลนสวนใหญพบบริเวณริมชายฝงติดทะเล
                  ดานทิศตะวันตกและทิศใตของจังหวัด ปาชายเลนพบมากสุดที่อําเภอกันตัง รองลงมาคือ อําเภอ
                  ปะเหลียน อําเภอสิเกา อําเภอยานตาขาว และอําเภอหาดสําราญ

                             3)    ปาปลูก (F5)  มีเนื้อที่ 829 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ปาปลูก
                  สมบูรณ 729 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด และปาปลูกรอสภาพฟนฟู 100 ไร ปาปลูก
                  สวนใหญพบมากที่อําเภอวังวิเศษ รองลงมาพบที่อําเภอปะเหลียน และอําเภอกันตัง
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202