Page 196 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 196

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           168





                        2.18.2  พื้นที่เกษตรกรรม (A)    มีเนื้อที่  1,998,420 ไร หรือรอยละ  65.03 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวยพื้นที่นา พืชไร  ไมยืนตน  ไมผล พืชสวน ทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว และสถานที่
                  เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา โดยพื้นที่เกษตรกรรมพบวาอยูในประเภทไมยืนตนมากที่สุด
                             1)    พื้นที่นา (A1) มีเนื้อที่ 33,971 ไร หรือรอยละ 1.11 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก นาขาว

                  มีเนื้อที่ 13,769 ไร หรือรอยละ 0.45 ของเนื้อที่จังหวัด นาราง มีเนื้อที่ 20,202 ไร หรือรอยละ 0.66
                  ของเนื้อที่จังหวัด นาขาวพบวามีการปลูกกระจายตัวอยูเกือบทุกอําเภอ พบปลูกมากสุดที่อําเภอนาโยง
                  รองลงมาคือ อําเภอเมืองตรัง สวนนารางพบทุกอําเภอ พบมากสุดที่อําเภอเมืองตรัง
                             2)    พืชไร (A2) มีเนื้อที่ 6 ไร ไดแก สับปะรด พบวาปลูกในอําเภอปะเหลียน
                             3)    ไมยืนตน (A3)  มีเนื้อที่ 1,914,668 ไร หรือรอยละ 62.29 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  ไมยืนราง/เสื่อมโทรม ไมยืนตนผสม ยางพารา ปาลมน้ํามัน ยูคาลิปตัส สัก สะเดา สนประดิพัทธ กระถิน
                  และตะกู ไมยืนตนที่ปลูกมากที่สุดเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่ทํารายไดสําคัญของเกษตรกรในจังหวัด ไดแก
                  ยางพารา และปาลมน้ํามัน

                                   (1)  ไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม (A300) มีเนื้อที่ 13,446 ไร หรือรอยละ 0.44 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด พบวาพื้นที่ปลูกมีอยูทุกอําเภอ สวนใหญอยูที่อําเภอหวยยอด รองลงมาคือ อําเภอวังวิเศษ
                                   (2)  ไมยืนตนผสม (A301) มีเนื้อที่ 1,491 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พื้นที่ปลูกสวนใหญอยูที่อําเภอวังวิเศษ รองลงมาคือ อําเภอสิเกา และอําเภอกันตัง

                                   (3)  ยางพารา (A302)  มีเนื้อที่ 1,481,424 ไร หรือรอยละ 48.20 ของเนื้อที่
                  จังหวัด พื้นที่ปลูกสวนใหญมีการกระจายทุกอําเภอ ปลูกมากสุดที่อําเภอหวยยอด รองลงมาคือ อําเภอ
                  ปะเหลียน อําเภอวังวิเศษ อําเภอเมืองตรัง และอําเภอกันตัง
                                   (4)  ปาลมน้ํามัน (A303)  มีเนื้อที่ 417,265 ไร หรือรอยละ 13.58 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พื้นที่ปลูกพบวามีการกระจายตัวอยูทุกอําเภอ ปลูกมากสุดที่อําเภอวังวิเศษ รองลงมาคือ อําเภอ
                  สิเกา อําเภอหวยยอด อําเภอกันตัง อําเภอปะเหลียน และอําเภอเมืองตรัง
                                   (5)  ไมยืนตนอื่น ๆ ไดแก ยูคาลิปตัส สัก สะเดา สนประดิพัทธ กระถิน และตะกู
                  มีเนื้อที่รวม 1,042 ไร หรือรอยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด

                             4)    ไมผล (A4)  มีเนื้อที่ 18,185 ไร หรือรอยละ 0.59 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ไมผลราง/
                  เสื่อมโทรม ไมผลผสม สม ทุเรียน เงาะ มะพราว มะมวงหิมพานต นอยหนา กลวย ฝรั่ง มะละกอ มังคุด
                  ลางสาด ลองกอง และสมโอ ไมผลที่ปลูกมากสุด ไดแก ไมผลผสม รองลงมา คือ มะพราว

                                   (1)  ไมผลผสม (A401)  มีเนื้อที่ 14,057 ไร หรือรอยละ 0.46 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พื้นที่ปลูกพบทุกอําเภอ สวนใหญปลูกมากสุดที่อําเภอยานตาขาว รองลงมาคือ  อําเภอหวยยอด อําเภอ
                  นาโยง และอําเภอปะเหลียน
                                   (2)  มะพราว (A405)  มีเนื้อที่ 3,064 ไร หรือรอยละ 0.10 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พื้นที่ปลูกพบมากสุดที่อําเภอปะเหลียน รองลงมาคือ อําเภอหาดสําราญ อําเภอกันตัง อําเภอยานตาขาว

                  และอําเภอสิเกา
                                   (3)  ไมผลอื่นๆ ไดแก สม มะมวง ทุเรียน เงาะ มะมวงหิมพานต นอยหนา กลวย
                  มะละกอ มังคุด ลางสาด ลองกอง สมโอ และไมผลราง/เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 1,064 ไร หรือรอยละ

                  0.034 ของเนื้อที่จังหวัด
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201