Page 150 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 150

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           126





                                   (1)  พืชผัก (A502)  มีเนื้อที่ 956 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด ปลูกมาก

                  ในอําเภอเมืองตราด อําเภอแหลมงอบ และอําเภอเขาสมิง
                                   (2)  พืชสวนอื่นๆ ไดแก พริกไทย ไมดอก ไมประดับ หวาย และพืชสวนราง/
                  เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 457 ไร หรือรอยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด

                             6)    ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7)  มีเนื้อที่ 592 ไร หรือรอยละ 0.03
                  ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ทุงหญาเลี้ยงสัตว โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก และโรงเรือนเลี้ยงสุกร
                                   (1)  ทุงหญาเลี้ยงสัตว (A701) มีเนื้อที่ 37 ไร
                                   (2)  โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก (A703)  มีเนื้อที่ 372 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่
                  จังหวัด สวนใหญเลี้ยงในอําเภอเขาสมิง อําเภอเมืองตราด และอําเภอบอไร

                                   (3)  โรงเรือนเลี้ยงสุกร (A704)  มีเนื้อที่ 183 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่
                  จังหวัด
                             7)    สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (A9)  มีเนื้อที่ 55,403 ไร หรือรอยละ 3.14 ของเนื้อที่

                  จังหวัด ประกอบดวย สถานที่เพาะเลี้ยงกุง สถานที่เพาะเลี้ยงปลา สถานที่เพาะเลี้ยงผสม และสถานที่
                  เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง
                                   (1)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวราง (A900)  มีเนื้อที่ 4,995 ไร หรือรอยละ 0.28
                  ของเนื้อที่จังหวัด

                                   (2)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวผสม (A901) มีเนื้อที่ 64 ไร
                                   (3)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวปลา (A902)  มีเนื้อที่ 386 ไร หรือรอยละ 0.02
                  ของเนื้อที่จังหวัด
                                   (4)   สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวกุง (A903)  มีเนื้อที่ 49,958 ไร หรือรอยละ 2.84

                  ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญเลี้ยงในอําเภอเมืองตราด อําเภอเขาสมิง และอําเภอแหลมงอบ
                        2.13.3  พื้นที่ปาไม (F)  มีเนื้อที่ 576,210 ไร หรือรอยละ 32.71 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                  ปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู ปาไมผลัดใบสมบูรณ ปาผลัดใบรอสภาพฟนฟู ปาผลัดใบสมบูรณ ปาชายเลน
                  รอสภาพฟนฟู ปาชายเลนสมบูรณ ปาพรุสมบูรณ ปาปลูกรอสภาพฟนฟู ปาปลูกสมบูรณ และ

                  ปาชายหาดรอสภาพฟนฟู มีเนื้อที่ 3,142  313,705  9,966  173,208  7,097  59,705  3,044  2,884
                  3,428 และ 31 ไร หรือรอยละ 0.18 17.81 0.57 9.83 0.40 3.39 0.17 0.16 0.20 และ 0.00 ของเนื้อที่
                  จังหวัด ตามลําดับ

                        2.13.4  พื้นที่น้ํา (W) มีเนื้อที่ 77,700 ไร หรือรอยละ 4.42 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                             1)    แหลงน้ําธรรมชาติ (W1)  เชน แมน้ํา ลําหวย ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสา และ
                  ทะเล มีเนื้อที่ 43,435 ไร หรือรอยละ 2.48 ของเนื้อที่จังหวัด
                             2)    แหลงน้ําที่สรางขึ้น (W2)  เชน อางเก็บน้ํา บอน้ําในไรนา และคลองชลประทาน
                  มีเนื้อที่ 34,265 ไร หรือรอยละ 1.94 ของเนื้อที่จังหวัด

                        2.13.5   พื้นที่เบ็ดเตล็ด (M) มีเนื้อที่ 64,085 ไร หรือรอยละ 3.64 ของเนื้อที่จังหวัด เปนทุงหญา
                  ธรรมชาติ ทุงหญาสลับไมพุม/ไมละเมาะ ไผปา ไผหนาม พื้นที่ลุม เหมืองเกา บอขุดเกา เหมืองแร
                  บอลูกรัง บอทราย บอดิน พื้นที่กองวัสดุ พื้นที่ถม หาดทราย และที่ทิ้งขยะ มีเนื้อที่ 8,580 39,808 191
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155