Page 149 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 149

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           125





                  ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญปลูกในอําเภอเมืองตราด อําเภอเขาสมิง และอําเภอบอไร รวมทั้งมีการปลูกขาว

                  ตามดวยพืชหลังนาตาง ๆ มีเนื้อที่ 1,679 ไร หรือรอยละ 0.09 ของเนื้อที่จังหวัด
                             2)    พืชไร (A2)  มีเนื้อที่ 49,508 ไร หรือรอยละ 2.82 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ไรราง
                  สับปะรด และพืชไรอื่น ๆ

                                   (1)  ไรราง (A200) มีเนื้อที่ 823 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                                   (2)  สับปะรด (A205)  มีเนื้อที่ 47,909 ไร หรือรอยละ 2.72 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกในเขตอําเภอเมืองตราด อําเภอเขาสมิง และอําเภอแหลมงอบ
                                   (3)  พืชไรอื่น ๆ ไดแก ยาสูบ มันเทศ แตงโม และพริก มีเนื้อที่ 776 ไร หรือรอยละ
                  0.05 ของเนื้อที่จังหวัด

                             3)    ไมยืนตน (A3)  มีเนื้อที่ 602,946 ไร หรือรอยละ 34.22 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                  ไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม ไมยืนตนผสม ยางพารา ปาลมน้ํามัน กฤษณา และไมยืนตนอื่น ๆ
                                   (1)  ไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม (A300)  มีเนื้อที่ 5,406 ไร หรือรอยละ 0.31

                  ของเนื้อที่จังหวัด
                                   (2)  ไมยืนตนผสม (A301) มีเนื้อที่ 2,122 ไร หรือรอยละ 0.12 ของเนื้อที่จังหวัด
                                   (3)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 497,821 ไร หรือรอยละ 28.26 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบในอําเภอเมืองตราด อําเภอเขาสมิง และอําเภอบอไร

                                   (4)  ปาลมน้ํามัน (A303) มีเนื้อที่ 91,194 ไร หรือรอยละ 5.18 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกในเขตอําเภอบอไร อําเภอเมืองตราด และอําเภอเขาสมิง
                                   (5)  กฤษณา (A322) มีเนื้อที่ 1,878 ไร หรือรอยละ 0.11 ของเนื้อที่จังหวัด
                                   (6)  ไมยืนตนอื่น ๆ ไดแก ยูคาลิปตัส สัก สนประดิพัทธ กระถิน ประดู  ไผปลูก

                  เพื่อการคา หมาก และตะกู มีเนื้อที่ 4,525 ไร หรือรอยละ  0.24 ของเนื้อที่จังหวัด
                             4)    ไมผล (A4) มีเนื้อที่ 225,531 ไร หรือรอยละ 12.78 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ไมผลผสม
                  ทุเรียน เงาะ มังคุด และไมผลอื่น ๆ
                                   (1)  ไมผลผสม (A401)  มีเนื้อที่ 75,479 ไร หรือรอยละ 4.28 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ปลูกในอําเภอเขาสมิง อําเภอเมืองตราด และอําเภอบอไร
                                   (2)  ทุเรียน (A403)  มีเนื้อที่ 43,677 ไร หรือรอยละ 2.48 ของเนื้อที่จังหวัด ปลูกใน
                  อําเภอเขาสมิง อําเภอเมืองตราด และอําเภอบอไร

                                   (3)  เงาะ (A404) มีเนื้อที่ 53,469 ไร หรือรอยละ 3.03 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญ
                  ปลูกในเขตอําเภอเขาสมิง อําเภอบอไร และอําเภอเมืองตราด
                                   (4)  มังคุด (A419) มีเนื้อที่ 23,823 ไร หรือรอยละ 1.35 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญ
                  ปลูกในเขตอําเภอเขาสมิง อําเภอเมืองตราด และอําเภอบอไร
                                   (5)  ไมผลอื่นๆ ไดแก ไมผลราง/เสื่อมโทรม สม มะพราว ลิ้นจี่ มะมวงหิมพานต

                  พุทรา กลวย ลําไย ฝรั่ง มะละกอ ขนุน กระทอน ลางสาด ลองกอง สละ ระกํา มะนาว แกวมังกร สมโอ
                  มะปราง มะยงชิด มะไฟ ละไม มีเนื้อที่ 29,083 ไร หรือรอยละ 1.64  ของเนื้อที่จังหวัด
                             5)    พืชสวน (A5)  มีเนื้อที่ 1,413 ไร หรือรอยละ 0.08 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก พืชผัก

                  พริกไทย ไมดอก ไมประดับ หวาย และพืชสวนราง/เสื่อมโทรม
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154