Page 12 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            3





                  แดง ชวงคลื่นสีเขียว (0.53-0.60 ไมครอน) ผานตัวกรองสีเขียว และชวงคลื่นสีน้ําเงิน (0.45-0.52

                  ไมครอน) ผานตัวกรองสีน้ําเงิน จากการผลิตภาพขอมูลดาวเทียมดังกลาว ทําใหไดภาพดาวเทียมที่มี
                  รายละเอียดจุดภาพสูงและมีสีตามธรรมชาติ ชวยใหสามารถวิเคราะหสภาพการใชที่ดินดวยสายตา
                  งายยิ่งขึ้น

                                   (2)  การผลิตภาพขอมูลดาวเทียม Landsat  8  OLI  เนื่องจากขอมูลดาวเทียม
                  ประกอบดวยภาพถายหลายแบนด (Band)  แยกกันอยู ซึ่งภาพในแตละแบนดจะบันทึกขอมูลในแตละ
                  ชวงคลื่น ดังนั้นกอนใชงานจึงมีการนําภาพของแตละแบนดมาหลอมรวมกัน โดยการศึกษาครั้งนี้ เลือก
                  การผสมแบนดเปนภาพสีผสมเท็จสามชวงคลื่น (False  color  composite)  แบนด 5R-6G-4B  คือ
                  ชวงคลื่นที่ 5 Near Intreared NIR (0.85-0.88 ไมโครเมตร) ผานตัวกรองสีแดง ชวงคลื่นที่ 6 SWIR 1

                  (1.57-1.65 ไมโครเมตร) ผานตัวกรองสีเขียว และชวงคลื่นที่ 4  Red  (0.64-0.67 ไมโครเมตร) ผานตัว
                  กรองสีน้ําเงิน ภาพที่ไดเหมาะสําหรับจําแนกพืชพรรณ เชน ออย มันสําปะหลัง และยางพารา เปนตน
                                    (3)   การวิเคราะหขอมูลสภาพการใชที่ดินจากขอมูลจากดาวเทียม และภาพถายออรโธสี

                  เชิงเลข  พิจารณาจากองคประกอบของขอมูล  คือ  ความเขมของสีและสี  (tone/color) ขนาด  (size)
                  รูปราง  (shape) เนื้อภาพ  (texture) รูปแบบ  (pattern) ความสูงและเงา  (height  and  shadow)
                  ความเกี่ยวพัน  (association) และการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล (temporal  change)   ของขอมูล
                  เพื่อวิเคราะหขอมูลสภาพการใชที่ดิน โดยใชโปรแกรมวิเคราะหระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร แลวจึง

                  นําชั้นขอมูลที่ไดทําการซอนทับกับภาพถายออรโธสีเชิงเลข และขอมูลภาพจากดาวเทียมไทยโชต  เพื่อ
                  พิมพเปนแผนที่ใชในการสํารวจขอมูลในภาคสนาม
                             3)   การสํารวจขอมูลในภาคสนาม  ทําการสํารวจตรวจสอบรายละเอียดสภาพการใชที่ดิน
                  ภาคสนามในพื้นที่จริง  พรอมแกไขรายละเอียดใหมีความถูกตองตรงกับสภาพปจจุบัน

                             4)    การสรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS database)
                                   เปนการจัดทําขอมูลทั้งเชิงพื้นที่ (spatial  data)   และขอมูลเชิงคุณลักษณะ
                  (attribute  data  ) ของขอมูลจากภาคสนาม  และขอมูลแผนที่จากสวนที่เกี่ยวของ  โดยการนําเขาใน
                  ระบบสารสนเทศดวยโปรแกรมวิเคราะหและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  ดังนี้

                                   (1)   การสรางฐานขอมูลเชิงพื้นที่ เปนการนําเขาขอมูลในรูปแผนที่เพื่อใช
                  วิเคราะหและประมวลผลเชิงพื้นที่
                                   (2)  การสรางฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data)  เปนการนําเขาขอมูล

                  ดานคุณลักษณะของแผนที่และขอมูลที่เกี่ยวของกับเชิงพื้นที่  เพื่อทําใหทราบถึงความสัมพันธระหวาง
                  ขอมูลทั้ง  2  ประเภท  เพื่อใชในการวิเคราะหและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรตอไป
                             5)    จัดทําแผนที่สภาพการใชที่ดิน
                             6)   วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน
                             7)     จัดทําแผนที่และรายงาน


                  1.5   ผูดําเนินงาน
                        ที่ปรึกษา  นายสมศักดิ์   สุขจันทร   ผูอํานวยการกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                   นายสมศักดิ์   แจงเพียร   ผูอํานวยการกลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน
                        ผูรับผิดชอบ น.ส.สมจิตต  เลิศดิษยวรรณ  นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17